Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 18, No. 4 (2012) open journal systems 


จากตำนานสู่งานละคร: ตามรอยวิญญาณรักแม่นาค ย้อนรอยวิญญาณหลอนปิตาธิปไตย
From Legend to Musical: Tracing Love Spirit of Mae Naak, Tracing Haunting Spirit of Patriarchy


อาทรี วณิชตระกูล, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Arthri Vanichtrakul, Faculty of Arts Chulalongkorn University


Abstract
Since 2003, Thai contemporary musical theatre, the new form of entertainment has become a theatre and social phenomenon as it has been receiving a very warm welcome from theatergoers. Although Thai contemporary musical theatre is able to arouse the interest of its audience with its extravagant spectacle, its content is repeatedly confined to same old familiar narratives, patriarchy. The article studied two major productions of contemporary musical theatre produced by two Thai renowned entertainment companies, Scenario and Dreambox. By comparing Mae Naak Phra Kanong the Musical and Mae Naak the Musical, produced by Scenario and Dreambox respectively, the study reveals the inferior role of women in patriarchal society. Mae Naak Phra Kanong the Musical aims to preserve the legend of Mae Naak, by representing the patriarchal concept as other prior adaptation works based on. It is noticeable that Mae Naak the Musical which aims to reconstruct the character of Mae Naak, and represent her new perspectives to its audience, also strongly reiterates the same concept. Thus Thai contemporary musical theatre plays an important role in reconstructing and reaffirming the patriarchal concept for Thai society.

Keywords: legend, love, Mae Naak, patriarchy, Thai musical theatre

บทคัดย่อ
ละครเพลงไทยร่วมสมัยเป็นความบันเทิงรูปแบบ ใหม่ที่ได้รับความนิยมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 เป็นต้นมา ความนิยมของละครเพลงไทยร่วมสมัยทำให้เกิดเป็น ปรากฏการณ์ทางการละครและทางสังคมเนื่องจากได้รับ การตอบรับเปน็ อยา่ งดียิ่งจากผูช้ ม แมว้ า่ ละครเพลงไทย ร่วมสมัยสามารถกระตุ้นความสนใจของผู้ชมละครได้ ด้วยการนำเสนอภาพตระการตา ทว่าเนื้อหามักจะอยู่ ในอิทธิพลของอุดมการณ์ปิตาธิปไตย บทความชิ้นนี้ วิเคราะห์เปรียบเทียบละครเพลงไทยร่วมสมัยเรื่องเด่น สองเรื่องจากสองบริษัทผูผ้ ลิตที่มีชื่อเสียง ไดแ้ ก ่บริษัท ซีเนริโอ จำกัด และบริษัท ดรีมบ็อกซ์ จำกัด เรื่อง แม่นาคพระโขนงเดอะ มิวสิคัล และ แม่นาค เดอะ มิวสิคัล ตามลำดับ ทำให้เห็นบทบาทของเพศหญิงที่ด้อยกว่า เพศชายในสังคมปิตาธิปไตย แม่นาคพระโขนง เดอะ มิวสิคัล มีจุดมุ่งหมายเพื่อรักษาเรื่องของแม่นาคตาม ตำนานไว้โดยนำเสนอแนวคิดปิตาธิปไตยออกมาชัดเจนเช่นเดียวกันกับการนำตำนานเรื่องดังกล่าวมาส ร้างสรรค์ในครั้งอดีต ทว่า แม่นาค เดอะ มิวสิคัล ซึ่งมี จุดมุ่งหมายเพื่อประกอบสร้างตัวละครแม่นาคและ นำเสนอตัวละครในมุมมองใหม่นั้น ผลิตซํ้าอุดมการณ์ ปิตาธิปไตยด้วยเช่นกัน ดังนั้น ละครเพลงไทยร่วมสมัย จึงเป็นสื่อความบันเทิงรูปแบบใหม่ที่มีบทบาทสำคัญ ในการประกอบสร้างและยืนยันอุดมการณ์ปิตาธิปไตย ในสังคมไทย

คำสำคัญ: ความรัก, ตำนาน, ปิตาธิปไตย, แม่นาค, ละครเพลงไทย


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548