Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 18, No. 3 (2012) open journal systems 


การสื่อทัศนภาวะผานรูปคํากริยาในภาษาเยอรมันและภาษาไทย
The Expression of Verbal Modality in German and in Thai


กรกช อัตตวิริยะนุภาพ, ภาควิชาภาษาเยอรมัน คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

Korakoch Attaviriyanupap, Department of German, Faculty of Arts, Silpakorn University


Abstract
This paper presents a comparative study on the expression of verbal modality in German and Thai. It specifically compares the use of modal verbs, both in deontic and epistemic meaning, as well as the grammatical mood in German, and their equivalents in the form of pre- and post-verbal modal markers in Thai. The analysis is based on a Thai-German bidirectional parallel corpus consisting of four Thai and four German contemporary short stories and their translations into the other language. German has six modal verbs which have developed into a very symmetrical system by expressing deontic modality on one hand and epistemic modality on the other hand. The Thai modal system shows, however, a tendency to grammaticalize two different sets of markers to express only either deontic or epistemic modality. Moreover, there are no pre- or post-verbal modal markers in Thai marking evidentiality or subjunctive mood. However, the polyfunctional ca can be hypothesized as a potential equivalent to the German subjunctive verb forms.

Keywords: comparative study, German, modality, Thai, verb

บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ นําเสนอผลการศึกษาเปรียบตาง การสื่อทัศนภาวะผานรูปคํากริยาในภาษาเยอรมัน และภาษาไทย โดยเปรียบเทียบการใชกริยาชวยสื่ อ ทัศนภาวะทั้งในความหมายที่ เปนทัศนภาวะปริศักดิ์ และทัศนภาวะสัญชาณ และมาลาในภาษาเยอรมัน กับตัวบงชี้ทัศนภาวะที่ใชนําหน าหรือตามหลังกริยา หลั กในภาษาไทย ทั้งนี้ คลังขอมู ลที่ ใช ศึ กษาเปน คลังข อมู ลสองภาษาสองทิ ศทาง ซึ่ งประกอบดวย เรื่องสั้นภาษาเยอรมัน และเรื่องสั้นภาษาไทยอยางละ 4 เรื่อง พรอมกับบทแปลของเรื่ องสั้ นเหลานี้เปนอีก ภาษาหนึ่ง ผลการวิจัย พบวา ภาษาเยอรมันมีกริยาชวย สื่อทัศนภาวะที่พัฒนาขึ้นเปนระบบการสื่อทัศนภาวะที่ สมมาตร กล าวคือ ใช คํากริยาชวยสื่อทั ศนภาวะคํา เดียวกันสื่อความหมายไดทั้งสองแนวทาง ในขณะที่ ในภาษาไทยมีแนวโนมที่จะพัฒนาไปสูการแยกกลุ มกัน ระหวางตัวบ งชี้ทั ศนภาวะที่ สื่อทัศนภาวะลักษณะใด ลักษณะหนึ่งเทานั้น นอกจากนี้ยังไมมีตัวบงชี้ทัศนภาวะ ประกอบคํ ากริ ยาตั วใดในภาษาไทยที่สื่อทั ศนภาวะ ในเชิ งบอกแหลงที่มาของขอมู ล และในภาษาไทย ไมพบหนวยคําเที ยบเคียงที่แนชั ดของมาลาสมมติ อยางไรก็ตาม หนวยคํา “จะ” ดูเหมื อนมีคุ ณสมบัติ ซึ่งสันนิษฐานวาเปนหนวยทางไวยากรณที่เทียบเคียง กับมาลาสมมติในภาษาเยอรมันไดใกลเคียงที่สุด

คําสําคัญ: การศึกษาเปรียบตาง, คํากริยา, ทัศนภาวะ, ภาษาไทย, ภาษาเยอรมัน


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548