Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 17, No. 4 (2011) open journal systems 


ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
Tort Liability of Officers


ศุภชาต อังแสงธรรม, งานการเจ้าหน้าที่ กองธุรการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

Suppachat Angsaengtam, Personnel Section, General Administrative Division, Prince of Songkla University


Abstract
The government officer’s liabilities under the 1996 Act of Tort Liability include the following performances. 1 A government officer, who performed a violated action that is not caused by the State duties, is forced to individually reimburse the compensation according to the Civil and Commercial Code. 2 In case of the government officer’s violation affected by the State duties, the State Agency must reimburse a compensation for the victim. The State authority can take the recourse from the government officer when it revealed that the government officer performed the violation by purposely or severely negligence only. In addition, if several government officers took part in such an infringement action, each person liability depends on the degree of individual defects. For this result, the principle debtor condition cannot be used to apply. 3. The amount of the liability reimbursement, assigning the liability or the amount of money that the government officers were forced to repay; the State Agency must consider according to the severity degree of the action and fairness criteria. However, the government officers might not pay in the full amount of any damages. Moreover, if the violation is caused by the fault or defect of the State Agency or operating systems, the share of the liability issue would be deducted.

Keywords: government officer, infringement, liability

บทคัดย่อ
ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 ประกอบด้วยสาระสำคัญ ดังนี้ 1) การกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ เจ้าหน้าที่ ของรัฐผู้กระทำละเมิดต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเป็นการส่วนตัวตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 2) การกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ หน่วยงานของรัฐต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ให้แก่ผู้เสียหาย สิทธิการไล่เบี้ยเอาจากเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นต้องปรากฎว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐได้กระทำไปโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น และถ้าการกระทำละเมิดดังกล่าวมีเจ้าหน้าที่ของรัฐร่วมกระทำด้วย หลายคน ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่ละคนขึ้นอยู่กับระดับความบกพร่องของแต่ละคน โดยมิให้นำหลัก ลูกหนี้รว่ มมาใชบั้งคับ 3) จำนวนความรับผิดที่ตอ้ งชดใช ้ การกำหนดจำนวนความรับผิดหรือจำนวนเงินที่เจา้ หนา้ ที่ของ รัฐต้องชดใช้ หน่วยงานของรัฐต้องคำนึงถึงระดับความร้ายแรงของการกระทำและความเป็นธรรมเป็นเกณฑ์ โดย อาจจะให้ชดใช้ไม่เต็มจำนวนของความเสียหายก็ได้ อีกทั้งถ้าการละเมิดนั้นเกิดจากความผิดหรือความบกพร่อง ของหน่วยงานของรัฐหรือระบบการดำเนินงาน ให้หักส่วนแบ่งความรับผิดนั้นออกด้วย

คำสำคัญ: ความรับผิด, เจ้าหน้าที่ของรัฐ, ละเมิด


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548