Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 17, No. 2 (2011) open journal systems 


แบบจำลองความคิดเรื่องพันธะเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
The Secondary Students’ Mental Models of Chemical Bonding


ณัชธฤต เกื้อทาน, ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชาตรี ฝ่ายคำตา, ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุดจิต สงวนเรือง, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Nattharit Kuathan, Department of Education, Faculty of Education, Kasetsart University
Chatree Faikhamta, Department of Education, Faculty of Education, Kasetsart University
Sudjit Sanguanruang, Department of Chemistry, Faculty of Science, Kasetsart University


Abstract
The purpose of this study was to investigate secondary students’ mental models of chemical bonding. The subjects were 211 secondary students, selected by purposive sampling from five public secondary schools. Students’ mental models of chemical bonding were elicited by using a chemical bonding mental models questionnaire (CBMMQ). The CBMMQ consisted of 10 items covering three main topics of chemical bonding: the ionic bonding, the covalent bonding and the metallic bonding, in which items included open-ended questions with drawing and explanations. Data were analyzed inductively to identify patterns and categories based on the work of Chi and Roscoe (2002). The research findings indicate that the majority of students hold flawed mental models of the three main topics, particularly in the sub-topics of chemical bonding: structure of ionic compounds, conductivity of ionic compounds, intermolecular forces, conductivity of macromolecular structures and metallic bond formation. The students used their everyday-life experiences to explain chemical bonding and their properties. The research findings suggest that chemistry teachers should provide learning activities which help students to construct, test and evaluate their mental models so that students would understand scientific models.

Keywords: chemical bonding, mental model, secondary student

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้ งนี้มีจุดประสงค์เพื่ อศึกษาแบบจำลองความคิดเรื่ องพันธะเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 211 คน จากโรงเรียนรัฐบาล 5 แห่ง โดยการเลือกแบบจำเพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัด แบบจำลองความคิดเรื่องพันธะเคมีซึ่งเป็นข้อคำถามปลายเปิดที่ ให้วาดภาพและเขียนบรรยายพร้อมอธิบายเหตุผล ประกอบ จำนวน 10 ข้อ โดยครอบคลุม 3 หัวข้อหลักในเรื่ องพันธะเคมี ได้แก่ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และ พันธะโลหะ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการอ่านคำตอบอย่างละเอียดแล้วตีความเพื่ อหารูปแบบและประเด็นของคำตอบ จากนั้นนำรูปแบบของคำตอบที่ ได้มาจัดกลุ่มตามแนวคิดของ Chi และ Roscoe (2002) ผลการวิจัย พบว่า นักเรียน ส่วนใหญ่มีแบบจำลองความคิดที่ ไม่ถูกต้องตามแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ในทั้ ง3 หัวข้อหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ งในหัวข้อย่อยต่ อไปนี้คือ โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก การนำไฟฟ้าของสารประกอบไอออนิก แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างโมเลกุล การนำไฟฟ้าของสารโครงผลึกร่างตาข่าย และการเกิดพันธะโลหะ นอกจากนั้นยังพบว่า นักเรียน ได้นำเอาประสบการณ์หรือคำอธิบายในชีวิตประจำวันมาใช้อธิบายพันธะเคมีและสมบัติของสาร จากผลการวิจัยได้ ข้อเสนอแนะว่าครูเคมีควรจะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ ช่วยให้นักเรียนได้สร้าง ทดสอบ และประเมินแบบจำลอง ความคิดของตนเองซึ่งจะทำให้นักเรียนเข้าใจแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น

คำสำคัญ: นักเรียนระดับชั้ นมัธยมศึกษา, แบบจำลองความคิด, พันธะเคมี


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548