Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 16, No. 3 (2010) open journal systems 


ผลของการสอนตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้กับการใช้สัญญาเงื่อนไขที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และความรับผิดชอบทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Effects of Constructivist Approach and Contingency Contraction on Social Studies Achievement and Learning Responsibility of Prathomsuksa Six Students


ยูวีตา โสะประจิน, ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว,คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
อริยา คูหา, ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว,คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ชิดชนก เชิงเชาว์, ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Yuweeta Sohprajin
Ariya Kuha, Department of Psychology and Guidance, Faculty of Education, Prince of Songkla U
Chidchanok Churngchow, Department of Educational Measurement and Evaluation, Faculty of Education, Prin


Abstract
The purposes of this research were to study the effects of Constructivist approach and Contingency Contraction on Social Studies Achievement and Learning Responsibility of Prathomsuksa six students. The subjects were 60 Prathomsuksa Six students who were studying in the second semester of the academic year 2006 at Tesaban 5 (Bantaladkao) School in Maung Yala, Yala Province. They were randomly divided into 2 groups of 30 students each. The first group was taught through the Constructivist approach couple with Contingency Contraction. The second one was taught only through the Constructivist approach. The research instruments were 7 lesson plans for experimental I and experimental II for 7 weeks each and for the test of Social Studies Achievement consisting of 40 questions having .85 reliability and Learning Responsibility test in Social Studies with .87 reliability. t-test was used for data analysis. The findings were as follows: The students who were taught through the Constructivist approach and Contingency Contraction had higher score on Social Studies Achievement than before the experiment at the significant level of .01. The students who were taught through the Constructivist approach had higher Social Studies Achievement and Learning Responsibility than before the experiment at the significant level of .01 and the students who were taught through the Constructivist approach and Contingency Contraction had higher Social Studies Achievement and Learning Responsibility than those taught through the Constructivist approach at the significant level of .05

Keywords: constructivist approach and contingency contraction method, constructivist approach method, learning responsibility

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสอนตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้กับการใช้ สัญญาเงื่อนไขที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและความรับผิดชอบทางการเรียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 โรงเรียนเทศบาล 5 (บ้านตลาดเก่า) อำเภอเมือง จังหวัดยะลา จำนวน 60 คน โดยสุ่มออกเป็น 2 กลุ่มทดลองกลุ่มละ 30 คน กลุ่มที่ 1 ได้รับการสอนตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้กับ การใช้สัญญาเงื่อนไข ส่วนกลุ่มที่ 2 ได้รับการสอนตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ เป็นระยะเวลา 7 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 7 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 0.85 และความรับผิดชอบทางการเรียน ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 0.87 ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนตาม แนวคิดทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้กับการใช้สัญญาเงื่อนไข มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและความ รับผิดชอบทางการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรียนที่ได้รับการสอนตาม แนวคิดทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ มีผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนวิชาสังคมศึกษาและความรับผิดชอบทางการเรียน สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนที่ได้รับการสอนตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้กับการใช้สัญญาเงื่อนไข มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและความรับผิดชอบ ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05

คำสำคัญ: การสอนตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้, การสอนตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้กับ การใช้สัญญาเงื่อนไข, ความรับผิดชอบทางการเรียน


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548