Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 14, No. 3 (2008) open journal systems 


การแสวงหาตัวตนในนวนิยายและภาพยนตร์เรื่องไฟท์คลับ
Self-Identification in the Novel and the Film of Fight Club


อภิรดี สุภาพ, ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยสงขลานคร
นฤมล กาญจนทัต, ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยสงขลานคร
แน่งน้อย วันอรุณวงศ์, ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยสงขลานคร

Aphiradi Suphap, Department of Western Languages
Narumon Karnchanathat, Department of Western Languages
Nangnoie Wan-Aroonwong, Department of Western Languages


Abstract
This research aims to study self-identification both in the novel and the film of Fight Club. The examination involves analysis of the protagonist’s problems, the process of self-identification and the evaluative comparison of both media. From the analysis, there are three major problems in the protagonist’s identity crisis : inner conflicts, interpersonal conflicts and social conflicts. Of these three, the inner conflicts are the most significant. The protagonist’s self-identification process mainly involves violence and aggressiveness as he believes they can assure him of his male identity. The film maintains the key message of self-identification of the novel. The presentation of self-identification in the film is, however, more effective because film techniques such as urrealism and lighting are able to bring the abstract description into vivid pictures.

Keywords: Fight Club, self-identification, self-identity, surrealism

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการแสวงหาตัวตนในนวนิยายและภาพยนตร์เรื่องไฟท์คลับ โดยพิจารณาปัญหาและกระบวน การแสวงหาตัวตนของตัวเอก รวมทั้งเปรียบเทียบและประเมินประสิทธิภาพการนำเสนอของสื่อทั้งสอง ผลปรากฏว่า การขาดอัตลักษณ์ของตัวเอกมีสาเหตุจากปัญหาใหญ่ ๆ สามประการ คือ ความขัดแย้งภายในจิตใจ ความขัดแย้งระหว่าง บุคคล และความขัดแย้งทางสังคม แต่ความขัดแย้งภายในจิตใจจะเป็นปัญหาที่สำคัญที่สุด ส่วนกระบวนการที่ตัวเอก ใช้นั้นเกี่ยวข้องกับความรุนแรงและความก้าวร้าว ทั้งนี้เพราะตัวเอกเชื่อว่าทั้งสองอย่างสามารถแสดงถึงอัตลักษณ์ความ เป็นชายที่ขาดหายไปได้ การนำเสนอในภาพยนตร์ มีประเด็นหลักเหมือนกับนวนิยาย แต่ภาพยนตร์สามารถนำเสนอ ได้ดีกว่า เพราะมี เทคนิคทางภาพยนตร์ที่สามารถทำให้ คำบรรยายในหนังสือปรากฏเป็นรูปเป็นร่างชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากนี้ เทคนิคเหนือจริง และแสงสี ทำให้ผู้กำกับสามารถสื่อความหมายให้ผู้ชมเข้าใจประเด็นที่ต้องการนำเสนอ ดียิ่งขึ้น

คำสำคัญ: การแสวงหาตัวตน, เทคนิคเหนือจริง, ไฟท์คลับ, อัตลักษณ์


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548