สุภาพ, ., กาญจนทัต, ., วันอรุณวงศ์, ., Suphap, <., Karnchanathat, N., & Wan-Aroonwong, N. (2008, October 16). การแสวงหาตัวตนในนวนิยายและภาพยนตร์เรื่องไฟท์คลับ
Self-Identification in the Novel and the Film of Fight Club. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 14(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=571.

การแสวงหาตัวตนในนวนิยายและภาพยนตร์เรื่องไฟท์คลับ
Self-Identification in the Novel and the Film of Fight Club

อภิรดี สุภาพ, ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยสงขลานคร
นฤมล กาญจนทัต, ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยสงขลานคร
แน่งน้อย วันอรุณวงศ์, ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยสงขลานคร

Aphiradi Suphap, Department of Western Languages
Narumon Karnchanathat, Department of Western Languages
Nangnoie Wan-Aroonwong, Department of Western Languages

Abstract

This research aims to study self-identification both in the novel and the film of Fight Club. The examination involves analysis of the protagonist’s problems, the process of self-identification and the evaluative comparison of both media. From the analysis, there are three major problems in the protagonist’s identity crisis : inner conflicts, interpersonal conflicts and social conflicts. Of these three, the inner conflicts are the most significant. The protagonist’s self-identification process mainly involves violence and aggressiveness as he believes they can assure him of his male identity. The film maintains the key message of self-identification of the novel. The presentation of self-identification in the film is, however, more effective because film techniques such as urrealism and lighting are able to bring the abstract description into vivid pictures.

Keywords: Fight Club, self-identification, self-identity, surrealism

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการแสวงหาตัวตนในนวนิยายและภาพยนตร์เรื่องไฟท์คลับ โดยพิจารณาปัญหาและกระบวน การแสวงหาตัวตนของตัวเอก รวมทั้งเปรียบเทียบและประเมินประสิทธิภาพการนำเสนอของสื่อทั้งสอง ผลปรากฏว่า การขาดอัตลักษณ์ของตัวเอกมีสาเหตุจากปัญหาใหญ่ ๆ สามประการ คือ ความขัดแย้งภายในจิตใจ ความขัดแย้งระหว่าง บุคคล และความขัดแย้งทางสังคม แต่ความขัดแย้งภายในจิตใจจะเป็นปัญหาที่สำคัญที่สุด ส่วนกระบวนการที่ตัวเอก ใช้นั้นเกี่ยวข้องกับความรุนแรงและความก้าวร้าว ทั้งนี้เพราะตัวเอกเชื่อว่าทั้งสองอย่างสามารถแสดงถึงอัตลักษณ์ความ เป็นชายที่ขาดหายไปได้ การนำเสนอในภาพยนตร์ มีประเด็นหลักเหมือนกับนวนิยาย แต่ภาพยนตร์สามารถนำเสนอ ได้ดีกว่า เพราะมี เทคนิคทางภาพยนตร์ที่สามารถทำให้ คำบรรยายในหนังสือปรากฏเป็นรูปเป็นร่างชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากนี้ เทคนิคเหนือจริง และแสงสี ทำให้ผู้กำกับสามารถสื่อความหมายให้ผู้ชมเข้าใจประเด็นที่ต้องการนำเสนอ ดียิ่งขึ้น

คำสำคัญ: การแสวงหาตัวตน, เทคนิคเหนือจริง, ไฟท์คลับ, อัตลักษณ์

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=571