Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 14, No. 2 (2008) open journal systems 


การวิเคราะห์การออมของครัวเรือนในจังหวัดตรัง
An Analysis of Household Saving in Trang Province


ปรารถนา หลีกภัย, คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Pradthana Leekpai, Faculty of Commerce and Management, Prince of Songkla University


Abstract
The research aims to study the household saving behaviors in Trang province and the factors influential to their saving. The sample consisted of 398 households in Trang and the research is conducted by means of simple sampling. The data of the study is derived from questionnaires designed by the researcher. The statistics patterns employed in data analysis are the basic statistics and the multiple regression. The findings reveal that most of households in Trang at least make a saving of 2,500 baht per month, mostly in a form of cash. The main objective of saving is for their own education, their children and the persons under their supervision. The factors significantly effecting the family saving behaviors, with the statistics value of .05, are the family income, the number of family independents and the education of the family’s leaders, respectively.

Keywords: household, saving, saving behaviors, Trang province

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการออมของครัวเรือนในจังหวัดตรัง และ ศึกษาถึงปัจจัย ที่มี ผลต่อการออมของครัวเรือนในจังหวัดตรัง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครัวเรือนในจังหวัดตรัง จำนวน 398 ครัวเรือน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ คือ สถิติพื้นฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ครัวเรือนในจังหวัดตรัง ส่วนใหญ่มีการออมต่อเดือนไม่เกิน 2,500 บาท โดยที่ส่วนใหญ่ครัวเรือนจะออมโดยการถือเป็นเงินสด และ ส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ของการออมเพื่อการศึกษาของตนเอง หรือบุตรหรือผู้อยู่ในอุปการะ สำหรับปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการออมของครัวเรือนในจังหวัดตรัง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ปัจจัยรายได้ของ ครัวเรือน ปัจจัยจำนวนผู้พึ่งพิงของครัวเรือน และปัจจัย การศึกษาของหัวหน้าครัวเรือน

คำสำคัญ: การออม, ครัวเรือน, จังหวัดตรัง, พฤติกรรมการออม


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548