|
Evaluation of an Experimental Chief Executive Officer (CEO) Governor Program : A Case Study of Narathiwat and Pattani
|
Naran Sriviha, Department of Educational Evaluation and Research, Faculty of Education,Prince o Chidchanok Cheongchao, Department of Educational Evaluation and Research, Faculty of Education,Prince o Srisomphob Jitphiromsri, Department of Social Sciences, Faculty of Humanities and Social Science,Prince o Adisai Rungvichaniwat, Department of Rubber Technology and Polymer Science, Faculty of Science and Tech Manop Jitphusa, Department of Social Sciences, Faculty of Humanities and Social Science,Prince o Jiraphan Dema, Department of Educational Technology, Faculty of Education, |
Abstract
This study aimed to compare the effectiveness and efficiency of the provincial administration in an experimental province (Narathiwat) under the CEO Governor administration with is comparative province (Pattani) under the traditional administration. Drawn through cluster and simple random sampling, the samples consisted of local people, local administration organizations, and government officials of each province. A questionnaire was used in data collection; percentages, arithmetic mean, standard deviation and t-test were used in data analysis. It was found that :
1.Narathiwat could handle poverty and drug abuse problems more efficiently than Pattani while Pattani could handle corruption problems more efficiently than Narathiwat. Throughout the experimental period, Narathiwat was not successful in coping with demonstration of local people whereas Pattaani, during its second phase, could handle the demonstration successfully at a provincial level.
2.The satisfaction of local people, administration organization, and government officials toward administration in Narathiwat was lower than that in Pattani in all aspects.
Keywords: CEO Governor, evaluation, Narathiwat, new public administration, Pattani
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารราชการแบบบูรณาการของจังหวัดทดลอง (จังหวัดนราธิวาส) กับการบริหารราชการแบบปกติของจังหวัดเปรียบเทียบ (จังหวัดปัตตานี) กลุ่มตัวอย่างคือประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกลุ่มข้าราชการของแต่ละจังหวัด โดยใช้วิธีสุ่มแบบแบ่งกลุ่มและสุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าที ผลการวิจัยพบว่า
1.จังหวัดนราธิวาสสามารถแก้ไขปัญหาความยากจนและปัญหายาเสพติดได้ดีกว่าจังหวัดปัตตานี ในขณะที่จังหวัดปัตตานีสามารถแก้ไขปัญหาคอรัปชั่นได้ดีกว่าจังหวัดนราธิวาส ตลอดช่วงเวลาของการทดลอง จังหวัดนราธิวาสไม่ประสบความสำเร็จในการแก้ปัญหาการชุมนุมเรียกร้องของประชาชนในขณะที่สองของการทดลอง จังหวัดปัตตานีสามารถแก้ไขปัญหาการชุมนุมเรียกร้องได้ในระดับจังหวัด
2.ความพึงพอใจของกลุ่มประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกลุ่มข้าราชการที่มีต่อการบริหารราชการในจังหวัดนราธิวาสต่ำกว่าจังหวัดปัตตานีในทุกด้านและทุกกลุ่ม
คำสำคัญ : การบริหารรัฐกิจแบบใหม่, การประเมินผล, นราธิวาส, ปัตตานี, ผู้ว่าราชการแบบบูรณาการ
|
|
|
|
| | | | | | | |
Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113 *บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา *All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.
© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand จำนวนผู้เยี่ยมชม
ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548
|
|