Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 20, No. 3 (2014) open journal systems 


การจัดการพื้นที่เมืองในกรุงเทพมหานคร: กรณีป่าช้าและพิธีศพสมัยรัชกาลที่ 5
Bangkok Urban Space Management: the Case of Cemetery and Funeral during King Rama V


นนทพร อยู่มั่งมี, คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Nontaporn Youmangmee, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince of Songkla University


Abstract
Cemetery has long been served as a funeral place for every man. Since it was traditionally related to supernatural beliefs, the number of activities in cemetery was limited. It was so until King Rama V Reign. When a rapid urban development in Bangkok revealed such obscure places, cemeteries, to the public and yet ruined the civilized image of newly westernized capital city. The emerging problem of cemetery forced the government to control and cemetery and funeral service providers. This problem has reflected that state authority in urban space management affecting the people’s ordinary life.

Keywords: believe, cemetery, funeral, space Management

บทคัดย่อ
พื้นที่ป่าช้า มีความสำคัญในฐานะเป็นสถานที่ ประกอบพิธีศพอันเป็นพิธีกรรมสุดท้ายในชีวิตมนุษย์ พื้นที่ดังกล่าวเกี่ยวพันกับความเชื่อเรื่องผีและสิ่งเหนือ ธรรมชาติ ทำให้มีการใช้พื้นที่ป่าช้าอย่างจำกัดทั้ง การใช้ในด้านพิธีกรรมและสถานที่ตั้งในชุมชน สำหรับ สังคมในกรุงเทพฯพื้นที่ป่าช้าถูกใช้ในลักษณะข้างต้น จนกระทั่งสมัยรัชกาลที่ 5 มีการพัฒนากรุงเทพฯ ด้าน กายภาพของเมือง ทำให้พื้นที่ซึ่งเคยถูกปกปิดซ่อนเร้น เปิดเผยมากขึ้นพร้อมกับปัญหาที่กระทบต่อภาพลักษณ์ ของความศิวิไลซ์ ของเมืองหลวงที่กำลังพัฒนาตาม แบบตะวันตก ปัญหาจากการใช้พื้นที่ป่าช้าของราษฎร ทำให้รัฐสมัยรัชกาลที่ 5 มีส่วนสำคัญต่อการเข้ามา จัดการพื้นที่ป่าช้าและพิธีศพ ซึ่งสะท้อนถึงอำนาจ ของรัฐสมัยใหม่ที่เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตราษฎร ผ่านการจัดการพื้นที่เมือง

คำสำคัญ: การจัดการพื้นที่, ความเชื่อ, ป่าช้า, พิธีศพ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548