Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 19, No. 3 (2013) open journal systems 


สัมฤทธิผลด้านการวิจัยจากผลการประเมินคุณภาพภายใน: กรณีศึกษาหน่วยงานจัดการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Research Effectiveness from Internal Accreditation: a Case Study of Teaching and Learning Units’ at Prince of Songkla University


กันยปริณ ทองสามสี, สำนักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปรีญาภรณ์ สุขจันทร์, สำนักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กิตติยา แสะอาหลี, สำนักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วรรณวิมล นาคะ, สำนักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Kanyaprin Tongsamsi, Quality Assurance Office, Prince of Songkla University
Preeyaporn Sookjun, Quality Assurance Office, Prince of Songkla University
Kittiya Sae-ar-lee, Quality Assurance Office, Prince of Songkla University
Wanvimon Nakha, Quality Assurance Office, Prince of Songkla University


Abstract
This research aimed to study research effectiveness Prince of Songkla University’s teaching and learning units’ and to compare the results of self-assessment report and that of the 2010 academic year internal accreditation on the indicators on research in the teaching and learning units. It was found that most faculties were rated as very good for four indicators but as needing urgent improvement for one indicator, i.e. research and innovations applicable for use. The results of self- assessment and the 2010 academic year internal accreditation were not statistically different but statistically related at 0.05. In addition, Input, Process and Output Indicators have statistically been related.

Keywords: internal accreditation, Prince of Songkla University, Research University, self assessment report

บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของหน่วยงานจัดการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และเปรียบเทียบผลการประเมินตนเองและผลการประเมินคุณภาพภายในประจำปีการศึกษา 2553 ของตัวบ่งชี้ด้านการวิจัยในหน่วยงานจัดการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ผลการศึกษาพบว่าคณะส่วนใหญ่มีผลประเมินระดับดีมากใน 4 ตัวบ่งชี้ และมีผลการประเมินระดับต้องปรับปรุงเร่งด่วน 1 ตัวบ่งชี้คืองานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ ในขณะที่ผลการประเมินตนเองและผลการประเมินคุณภาพภายในโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในมีความแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากนั้นผลการทดสอบความสัมพันธ์ของผลการประเมินคุณภาพภายในระหว่างตัวบ่งชี้ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิตพบว่าตัวบ่งชี้ส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

คำสำคัญ: การประเมินคุณภาพภายใน, การประเมินตนเอง, มหาวิทยาลัยวิจัย, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548