Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 19, No. 1 (2013) open journal systems 


‘การศึกษา’ ช่องทางสู่การย้ายถิ่น
Migration by Means of ‘Education’


ศันสนีย์ จันทร์อานุภาพ, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
Sansanee Chanarnupap, Faculty of Humanities and Social Sciences, Thaksin University


Abstract
This paper is based on a qualitative study of Thai skilled migration to Australia focusing on the transition period during which Thai overseas students become skilled migrants. The research employed two major qualitative techniques in the fieldwork: participant observation and in-depth interviewing from the Year 2007 to 2009. Twentyfive Thai skilled migrants in Melbourne who initially came to Australia for further education and then applied for Australian permanent residence after graduation generated the core data for the study. This paper addresses six major steps in the process of Thai skilled migration to Australia: 1) Transition to be an overseas student in Australia 2) Coping with culture shock 3) Migration decision making after graduation 4) Thai settlement in Australia 5) Dual ways of life 6) Ties to homeland.

Keywords: migrant, migration, overseas student, international student, migration decision making

บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่องการย้ายถิ่นของนักเรียนไทยในประเทศออสเตรเลีย และมุ่งศึกษากระบวนการเปลี่ยนผ่านจากการเป็น นักเรียนต่างชาติสู่การเป็นคนไทยย้ายถิ่น โดยเก็บ ข้อมูลด้วยวิธีสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วมและการ สัมภาษณเ์ ชิงลึกในชว่ งป ี ค.ศ.2007-2009 ผูมี้สว่ นรว่ ม ในการวิจัยเป็นนักเรียนไทยย้ายถิ่นในนครเมลเบิร์น จำนวน 25 คน ผลการศึกษาพบว่า การย้ายถิ่นของ นักเรียนไทยในประเทศออสเตรเลียมีกระบวนการที่ เกี่ยวข้องอยู่ 6 กระบวนการ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนผ่าน สูก่ ารเปน็ นักเรียนตา่ งชาติในออสเตรเลีย 2) การตอ่ รอง กับการตะลึงงันทางวัฒนธรรม 3) กระบวนการตัดสิน ใจย้ายถิ่นฐานภายหลังสำเร็จการศึกษา 4) การตั้ง ถิ่นฐานถาวรในประเทศออสเตรเลีย 5) การเป็นคน สองถิ่น 6) การยึดมั่นผูกพันกับถิ่นฐานบ้านเกิด

คำสำคัญ: การตัดสินใจยา้ ยถิ่นฐาน, การยา้ ยถิ่น, นักเรียนต่างชาติ, นักศึกษา นานาชาติ, ผู้ย้ายถิ่น


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548