ลดาชาติ, ., วาเด็ง, ., Ladachart, <., & Wadeng, . (2012, May 31). วิธีการแตกแรงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4: การวิจัยปรากฏการณภาพ
Tenth-grade Students’ Ways of Resolving Force: A Phenomenography. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 18(2). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=969.

วิธีการแตกแรงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4: การวิจัยปรากฏการณภาพ
Tenth-grade Students’ Ways of Resolving Force: A Phenomenography

ลือชา ลดาชาติ, โรงเรียนสายบุรี “แจงประชาคาร” อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี
หวันบัสรี วาเด็ง, โรงเรียนสายบุรี “แจงประชาคาร” อําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานี

Luecha Ladachart, Saiburi “Cheang Pra Cha Karn” School, Saiburi, Pattani
Wanbassree Wadeng, Saiburi “Cheang Pra Cha Karn” School, Saiburi, Pattani

Abstract

This phenomenographic study aims to examine 17 tenth-grade students’ ways of resolving a force into two components. The researchers collected data by asking the students to complete a worksheet about resolving a force in several given situations before asking them to describe what they are thinking during doing the worksheet. The result of the study is a hierarchy of the students’ ways of resolving force, which are ranged from more to less complex ones—that is 1) the way that uses trigonometric functions; 2) the way that uses the memorial that “resolve towards the interested angle is ‘cos’ and resolve outwards the interested angle is ‘sin’” with an account to the force’s direction relative to a referent axis; 3) the way that uses the memorial that “resolve towards the interested angle is ‘cos’ and resolve outwards the interested angle is ‘sin’” without an account to the force’s direction relative to a referent axis; and 4) the random way respectively. What makes differences among the ways of resolving force is the students’ ability to be aware of three critical aspects—that is 1) trigonometric functions; 2) the force’s direction relative to a referent axis; and 3) the angle between the force and a referent axis. The results of the study can be further used as guidance to enhance the students’ possibility of learning about resolving force.

Keywords: Teaching and learning physics, Phenomenography, Resolving force

บทคัดย่อ
การวิจัยปรากฏการณภาพนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาวิ ธีการที่นักเรียนชั้ นมัธยมศึกษาปที่ 4 จํานวน 17 คน ใช ในการแตกแรงออกเป น 2 องคประกอบ ผูวิจัยเก็บขอมูลโดยใหนักเรียนแตกแรงในสถานการณ ตางๆ ที่กําหนดใหในใบงาน กอนใหนักเรียนแตละคน บรรยายกระบวนคิดของตนเองในระหวางการทําใบงาน ผลการวิจัยที่ได เป นลําดั บขั้ นของวิธี การแตกแรงที่ นักเรี ยนใช โดยเรียงจากวิ ธีการแตกแรงที่ มีความ ซับซอนมากไปยั งวิธีการแตกแรงที่มีความซับซอน นอยกว า ซึ่ งคือ 1) วิ ธีการที่ ใชฟ งกชันตรีโกณมิ ติ 2) วิธีการ “แตกเขาหามุมเปน cos และแตกออกจากมุม เปน sin” โดยพิจารณาทิศของแรงเทียบกับแกนอางอิง 3) วิธีการ “แตกเข าหามุมเปน cos และแตกออก จากมุมเปน sin” โดยไมพิจารณาทิศของแรงเทียบกับ แกนอางอิง และ 4) วิธีการแบบสุม ตามลําดับ สิ่งที่สราง ความแตกต างในวิ ธี การแตกแรงแต ละระดับคือ ความสามารถของนักเรียนในการตระหนักรูถึงลักษณะ สําคัญของการแตกแรง 3 ลักษณะ คื อ 1) ฟ งกชัน ตรีโกณมิติ 2) ทิศของแรงเมื่อเทียบกับแกนอางอิง และ 3) มุมที่แรงนั้นกระทําตอแกนอางอิง ผลการวิจัยที่ได สามารถนําไปใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มความเปนไปไดในการเรียนรูเรื่องการแตกแรง ของนักเรียนตอไป

คําสําคัญ: การแตกแรง, การเรี ยนการสอนฟ สิกส, งานวิจัยปรากฏการณภาพ

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=969