ชูเรืองสุข, ., & Churuangsukh, <. (2012, May 31). การใชและความตองการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส: การศึกษาผูใชบริการของหอสมุดวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
The Usage of and Needs for Electronic Books: A Health Science Library, Prince of Songkla University User Study. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 18(2). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=968.

การใชและความตองการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส: การศึกษาผูใชบริการของหอสมุดวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
The Usage of and Needs for Electronic Books: A Health Science Library, Prince of Songkla University User Study

จารุพร ชูเรืองสุข, ฝายหอสมุดวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักทรัพยากรการเรียนรู คุณห

Jaruporn Churuangsukh, Health Science Library, Khunying Long Athakravisunthorn Learning, Resources Cen

Abstract

The objectives of this survey research were to investigate the current usage and users’ needs and reasons why e-books had not been used. The samples comprised of 301 medical instructors, residents, interns and the 2nd - 5th year medical students who were working and studying during the 2009/2010 academic year at the Faculty of Medicine, Prince of Songkla University. The instrument for collecting data was a questionnaire. The findings were the following: 1) 63.6 percentage of the subjects had used e-books whereas 36.4 percentage had never. The purpose of using was for study, they preferred using e-book databases provided by library, and reading on screen. They accessed e-books by themselves at home and had never consulted the user guide for recommendations. The main problem faced by users was eyes strain. 2) The users’ needs for e-books were at high level. The convenient and faster access were needed most, the facilities needed most were network capacity and speed. The reasons for not using e-books were lack of knowledge on how to access and no tutors/consultants to act as a guide. However, non-users reported their willingness to use e-books in the future. The findings indicated that the library should actively promoting e-books through public relations, user guide, including library catalogue and also improving speed of the Internet network system capacity.

Keywords: Electronic books, electronic books usage, Health Science Library, Prince of Songkla University, user study

บทคัดย่อ
การวิ จั ยเชิงสํารวจนี้ มี วั ตถุประสงค เพื่ อศึกษา สภาพการใช ความตองการใช และสาเหตุที่ไมใช หนังสืออิเล็กทรอนิกสของหอสมุดวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร กลุ  มตั วอย างเป น อาจารยแพทย แพทยประจําบาน แพทยใชทุน และ นักศึกษาแพทย ชั้นปที่ 2 ถึง ปที่ 5 ซึ่งกําลังปฏิบัติงาน และศึ กษาในปการศึกษา 2552/2553 ของคณะ แพทยศาสตร จํานวน 301 คน โดยใช แบบสอบถาม เปนเครื่องมือในการรวบรวมขอมูล ผลการวิจัย พบวา 1) กลุมตัวอยาง รอยละ 63.6 เคยใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส ในขณะที่ รอยละ 36.4 ไมเคยใช โดยใชเพื่อการศึกษา จากฐานขอมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่หองสมุดบอกรับ และอานทันทีจากหนาจอ ส วนใหญใชจากที่ พักและ คนหาดวยตนเอง ไมเคยไดรับคําแนะนําวิธีการใช และ158 ปญหาที่ประสบคือการเมื่อยลาและปวดตาในขณะอาน 2) ความตองการใชหนังสื ออิเล็กทรอนิกสโดยรวม อยูในระดับมาก โดยเฉพาะดานความสะดวกรวดเร็วใน การคนหาขอมูล และดานการปรับปรุงสมรรถนะของ ระบบเครื อข ายคอมพิ วเตอร ให มีความเร็ วสูงขึ้ น 3) สาเหตุ ที่ไม ใช หนังสืออิ เล็กทรอนิ กส ของผู ที่ไม เคยใชคือ ไมทราบวิธีใชและไมมีผูแนะนํา แตผูที่ไมเคย ใชใหการยอมรับและตองการที่จะใชมากขึ้นในอนาคต ผลการวิจัยชี้ ให เห็นถึงความจําเป นของหองสมุดใน การส งเสริมใหมีการใชทั้งในดานการประชาสัมพั นธ การแนะนําวิธีการใช ตลอดจนการทํารายการ รวมทั้ง การปรับปรุงสมรรถนะระบบเครือขายอินเทอรเน็ตให มีความเร็วสูงขึ้น

คําสําคัญ: การใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส, ความตองการ ใช หนังสื ออิเล็กทรอนิ กส, มหาวิ ทยาลัย สงขลานครินทร, หนังสืออิเล็กทรอนิกส, หอสมุดวิทยาศาสตรสุขภาพ,

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=968