พรหมเพชร, ., นราองอาจ, ., Prohmpetch, <., & Naraongard, S. (2009, December 15). ภาวะสุขภาพจิตของครูในเขตพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Mental Health Status of Teachers in the Three Southern Border Provinces . Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 15(4). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=666.

ภาวะสุขภาพจิตของครูในเขตพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Mental Health Status of Teachers in the Three Southern Border Provinces

วัฒนะ พรหมเพชร, ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สุวิมล นราองอาจ, ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Wattana Prohmpetch, Department of Psychology and Guidance, Faculty of Education, Prince of Songkla U
Suwimon Naraongard, Department of Psychology and Guidance, Faculty of Education, Prince of Songkla U

Abstract

The purposes of this research were to study the mental health status and find good predictors that could predict the mental health status of teachers in the three southern border provinces. These samples were 685 teachers of 60 schools. The results were summarized as follows: 1) most of mental health status were fair (43.29%), 2) teachers’ mental health status were significantly different among gender, year of service, teaching load, and salary and other incomes, 3) their mental health status was positively correlated with salary and problem minimization, but it was negatively correlated with anxiety, work adjustment, external stressors, depression, marital problems, effects of substance abuse, interpersonal conflict, self-esteem problems, family problems, suicide risk ,and effects of the unrest, 4)there were four predictors being negatively predicted in this study: self-esteem problems (X13), depression (X8), effects of the unrest affecting the teachers’ family (X17), and interpersonal conflict (X11) while one predictor was positively predicted by problem minimization (X12). These predictors had the predictability power of 29.15%. The prediction equations in raw score and standard score were as follow: Υˆ = 149.1084 + (-1.4076) X13 + (-.5817)X8 + (-.6351)X17 + (.7343)X12 + (-.5820)X11 Ζˆ = (-.3444)Z13 + (-.1695)Z8 + (-.1713)Z17 + (.1796)Z12 + (-.1479)Z11

Keywords: mental health status, psycho-social factors, teachers in the three southern border provinces, unrest factors.

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพจิตและหาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ ภาวะสุขภาพจิตของครูในเขตพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 685 คนจาก 60 โรงเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูส่วนใหญ่มีภาวะสุขภาพจิต เท่ากับคนทั่วไป (fair) ร้อยละ 43.29 2) ครูที่มีเงินเดือนและรายได้พิเศษ เพศ อายุการทำงาน และภาระงานสอนแตก ต่างกั น มี ภาวะสุขภาพจิตแตกต่างกัน 3) ภาวะสุ ขภาพจิ ตของครูมีความสัมพันธ์ ทางบวกกั บเงิ นเดือนและ รายได้พิเศษ การหลีกเลี่ยงปัญหา และอายุ แต่มีความสัมพันธ์ทางลบกับความวิตกกังวล การปรับตัวการทำงาน ความเครียดจากสิ่งเร้าภายนอก ภาวะความซึมเศร้าปัญหาครอบครัว และการใช้สารเสพติด ความขัดแย้งระหว่าง บุคคล ปัญหาการนับถือตนเอง ภาวะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย และผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบ 4) มีตัวแปร พยากรณ์ 4 ตัวที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของครูในทางลบ ได้แก่ ปัญหาการนับถือตนเอง (X13) ภาวะความซึมเศรา (X8) ผลกระทบต่อครอบครัวของครู (X17) ความขัดแย่งระหว่างบุคคล (X11) ส่วนการหลีกเลี่ยงปัญหา (X12) ส่งผล ต่อภาวะสุขภาพจิตของครูในทางบวก โดยมีอำนาจในการพยากรณ์ ร้อยละ 29.15 และได้สมการพยากรณ์ในรูปคะแนน ดิบและคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Υˆ = 149.1084 + (-1.4076) X13 + (-.5817)X8 + (-.6351)X17 + (.7343)X12 + (-.5820)X11 Ζˆ = (-.3444)Z13 + (-.1695)Z8 + (-.1713)Z17 + (.1796)Z12 + (-.1479)Z11

คำสำคัญ: ครูในเขตพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้, ปัจจัยจิตสังคม, ปัจจัยผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบ, ภาวะสุขภาพจิต

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=666