แก่นอินทร์, ., ไชยเสน, ., บุญทรง, ., แก้วตะรัตน์, ., Kaenin, <., Chaisen, V., Boonsong, L., & Kaewtarat, S. (2008, October 16). ตัวแปรที่ส่งผลต่อพฤติกรรมความมีระเบียบวินัยในห้องเรียนของนักเรียนประถมศึกษา
Variables Affecting Classroom Discipline Behaviors of Elementary School Students. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 14(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=544.

ตัวแปรที่ส่งผลต่อพฤติกรรมความมีระเบียบวินัยในห้องเรียนของนักเรียนประถมศึกษา
Variables Affecting Classroom Discipline Behaviors of Elementary School Students

ธีรพงศ์ แก่นอินทร์, ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วีรศักดิ์ ไชยเสน, โรงเรียนบานตะบิงติงงี อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
ลัดดา บุญทรง, โรงเรียนบานสามัคคีธรรม อำเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
สุจิตตรา แก้วตะรัตน์, โรงเรียนบานโคกตก อำเภอสะบายอย จังหวัดสงขลา

Theeraphong Kaenin, Department of Education, Prince of Songkla University
Veerasuk Chaisen, Bantabingtinghi School, Mayor, Pattani
Ladda Boonsong, Bansamakkitam School, Thungsong, Nakhon Si Thammarat
Sujittra Kaewtarat, Bankhoktok School, Sabayoi, Songkhla

Abstract

The objectives of this research were to study the relationships and the multiple correlations between classroom atmosphere, communication efficiency of teachers, classroom management and classroom discipline behaviors of elementary school students, and to find out the variables that could predict classroom discipline behaviors of elementary school students from those variables. The samples of this research were 980 homeroom and subject teachers of grade 2, 3, and 4 in the elementary schools under the jurisdiction of the Office of Basic Education Commission in Pattani, Songkhla and Nakhon Si Thammarat provinces. The research instrument was a questionnaire, its reliability was .845 - .983. Simple correlation and multiple regressions were used for data analysis. The findings were as follows: Physical atmosphere setting, psychological atmosphere setting, active listening, I-message, nonverbal communication, classroom rules and classroom procedures correlated with classroom discipline behaviors of elementary school students at the significant level of .01 and .05. The multiple correlation coefficient was .557, pysical atmosphere setting, psychological atmosphere setting, nonverbal communication, classroom rules, and classroom procedures could predict classroom discipline behaviors of elementary school students. The adjusted R2 was .303, the predictors could explain 30.3 percent of the total variance of the criterion variable.

Keywords: classroom atmosphere, classroom discipline behaviors, classroom management, communication efficiency of teachers, elementary school students

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ หาความสัมพันธ์และสหสัมพันธ์พหุคูณระหว่างการจัดบรรยากาศในห้องเรียน ประสิทธิภาพในการสื่อสารของครู และการจัดการห้องเรียน กับพฤติกรรมความมีระเบียบวินัยในห้องเรียน ของนักเรียน ประถมศึกษา และเพื่อค้นหาตัวแปรที่ใช้เป็นตัวพยากรณ์พฤติกรรมความมีระเบียบวินัยในห้องเรียน ของนักเรียน ประถมศึกษา จากตัวแปรดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครูประจำชั้นและปฏิบัติการสอนในระดับชั้น ประถม ศึกษาปีที่ 2, 3 และ4 ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใน จังหวัดปัตตานี สงขลา และนครศรีธรรมราช จำนวนรวมทั้งหมด 980 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น ตั้งแต่ .845-.983 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอย พหุคูณ ผลการวิจัย สรุปได้ ดังนี้ การจัดบรรยากาศทางกายภาพ การจัดบรรยากาศทางจิตวิทยา การฟังอย่างเอาการ เอางาน การพูดเพื่อให้นักเรียนรู้ถึงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของตน การสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูดของครู การจัดการห้อง เรียน ที่เกี่ยวกับกฎ และการจัดการห้องเรียนที่เกี่ยวกับกระบวนการ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความมีระเบียบวินัย ในห้องเรียนของนักเรียนประถมศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 และมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พหุคูณเท่ากับ .557 ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์พฤติกรรมความมีระเบียบวินัยในห้องเรียนของนักเรียนประถมศึกษา ประกอบด้วย การจัดบรรยากาศทางกายภาพ u3585 การจัดบรรยากาศทางจิตวิทยา การสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูดของครู การ จัดการห้องเรียน ด้านกฎ และการจัดการ ห้องเรียนด้านกระบวนการ ตัวพยากรณ์มีประสิทธิภาพในการพยากรณ์ที่ได้ ปรับแล้วเท่ากับ .303 คิดเป็นร้อยละ 30.3

คำสำคัญ: การจัดการห้องเรียน, การจัดบรรยากาศในห้องเรียน, ประสิทธิภาพในการสื่อสารของครู, พฤติกรรมความ มีระเบียบวินัยในห้องเรียน, นักเรียนประถมศึกษาสัมพันธ์

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=544