พิมพา, ., แสงคล้อย, ., Pimpa, <., & Sangkoi, W. (2008, June 25). สภาพการผลิตโคนมของเกษตรกรรายย่อยในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย
Dairy Production of Small-holder Farmer at the South of Northern Part of Thailand . Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 14(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=512.

สภาพการผลิตโคนมของเกษตรกรรายย่อยในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย
Dairy Production of Small-holder Farmer at the South of Northern Part of Thailand

โอภาส พิมพา, สาขาวิชาอุตสาหกรรมชีวภาพ คณะเทคโนโลยีและการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิศิษฎ์ แสงคล้อย, องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.), ขอนแก่น

Opart Pimpa, Faculty of Technology and Management, Prince of Songkla University, Surat Thani
Wisit Sangkoi, Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (D.P.O.) North-Eastern Region,

Abstract

A survey was conducted to study dairy cattle production systems and estimate production costs and problems associated with milk production in the south of Northern part of Thailand. The research took place in Sukhothai province in 2004 using questionnaires, and sampled 153 farmers and Dairy promotion organization officers in four milk collection centers for interview. Total dairy population was found to be 2,526 heads and 907 head milking cows. Farmers who raised dairy cattle started from 1-4, 5-10, and 11-20 heads were 84%, 12%, 4% respectively. Feeding systems, in the rainy season, and dry season were based on pasture grazing and cut-carry system (54.5%). The major problems found in the study were the high price of concentrate, lack of quantity and quality of the roughages, the high level of supplementation of concentrates and low fertility. The production cost is 7.5 baht per kilogram of milk. Most of the farmers are earning between 5,000 to 10,000 baht per month. Commercial concentrates of various sources were used at 1:2 concentrate: milk which affected on ultimate high cost of production. Based on this study, it was found that providing dairy cattle with sufficient quality roughage the year as well as lowering concentrate use, will enhance productivity and efficiency for more sustainable production and a higher income.

Keywords: dairy production, dairy promotion organization, smallholder dairy farmer

บทคัดย่อ
ระบบการเลี้ยงโคนมและประเมินต้นทุนการผลิต ตลอดทั้งปัญหาในการผลิตน้ำนมโค ในภาคเหนือ ตอนล่างของประเทศไทย ได้ศึกษาในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย ในปี พ.ศ. 2547 ใช้วิธีการทำแบบสอบถามข้อมูลจากเกษตรกร 153 ราย และสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) ในเขตพื้นที่รับน้ำนมดิบ 4 เขต ผลการศึกษาพบว่า มีโคนมทั้งหมด___ 2,526 ตัว โดยแบ่งเป็นโครีดนม 907 ตัว พบว่าขนาดฟาร์มส่วนใหญ่เกษตรกรมีการเลี้ยงโค 1-4 ตัว 5-10 ตัว และ 11-20 ตัว ในฟาร์ม คิดเป็นอัตราส่วนร้อยละ 84 ร้อยละ 12 และร้อยละ 4 ตามลำดับ ในระบบการเลี้ยงพบว่า ช่วงฤดูฝนและฤดูแล้งจะมีการใช้หญ้าเป็นอาหารหยาบหลัก ซึ่งมีทั้งการปล่อยให้แทะเล็มร่วมกับการตัดเสริมให้กินมีถึง ร้อยละ 54.5 ของฟาร์มทั้งหมด___ ปัญหา ส่วนใหญ่ที่พบคือเรื่องของราคาอาหารข้นที่แพง และมีอาหารหยาบไม่เพียงพอ ตลอดทั้งเป็นอาหารหยาบคุณภาพต่ำ จึงเป็นผลให้เกษตรกรใช้อาหารข้นในระดับที่สูง นอกจากนี้ยังมีปัญหาการผสมไม่ติด จากการศึกษาพบว่า ต้นทุนการผลิตน้ำนมอยู่ที่ 7.52 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรส่วนใหญ่ได้กำไรสุทธิฟาร์มละ 5,000 - 10,000 บาทต่อเดือน ซึ่งในการให้อาหารข้นจะมีหลากหลายบริษัทที่มีจำหน่ายในพื้นที่ โดยส่วนมากจะให้อาหารข้น 1 ส่วนต่อน้ำนมที่ผลิตได้ 2 ส่วน ซึ่งเป็นที่ทราบว่าเป็นสาเหตุให้ต้นทุนการผลิตสูง ซึ่งโดยภาพรวมพบว่าการช่วยให้เกษตรกรมีอาหารหยาบคุณภาพดีตลอดทั้งปี และมีอาหารข้นราคาถูกมาใช้ในการเลี้ยงโคจะเป็นส่วนที่สำคัญในการเพิ่มผลผลิตและช่วยให้การเลี้ยงโคนมมีความยั่งยืนตลอดทั้งมีรายได้มากิ่งขึ้น

คำสำคัญ: การผลิตโคนม, เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมรายย่อย, องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=512