และ เยาวนิจ กิตติธรกุล, ., & and Jawanit Kittitornkool, <. (2004, September 1). การพัฒนากระบวนการเรียนรู้โดยชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาป่าชุมชนเขาหัวช้าง ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
The Development of the Learning Process of Community - Based Ecotourism Management: A Case Study of Khao Hua - Chang Community Forest Tambon Tamot, Amphoe Tamot, Changwat Phattalung. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 10(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=32.

การพัฒนากระบวนการเรียนรู้โดยชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษาป่าชุมชนเขาหัวช้าง ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
The Development of the Learning Process of Community - Based Ecotourism Management: A Case Study of Khao Hua - Chang Community Forest Tambon Tamot, Amphoe Tamot, Changwat Phattalung

ธฤษวรรณ นนทพุทธ และ เยาวนิจ กิตติธรกุล,

Thritsawan Nonthaphut and Jawanit Kittitornkool,

Abstract

บทคัดย่อการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยศึกษาชุมชนตะโหมด ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง ซึ่งเป็นชุมชนหนึ่งที่มีความสนใจในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อเป็นกลไกในการอนุรักษ์ป่าชุมชนเขาหัวช้าง ผลการศึกษาพบว่า การเรียนรู้ของสมาชิกในชุมชนเกิดจากเงื่อนไขของเวลา ดังนี้ (1) ทุนของชุมชนซึ่งได้แก่ ทุนระบบนิเวศ ทุนคน ทุนระบบสังคมและวัฒนธรรม ทุนสติปัญญา และทุนเงินตรา (2) พลวัตของปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทุนของชุมชนและการเรียนรู้ของสมาชิกในชุมชน (3) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศให้แก่สมาชิกในชุมชน สามารถแบ่งการเรียนรู้ได้เป็น 2 ประเภท คือ การเรียนรู้ของสมาชิกในชุมชนที่พัฒนาจากทุนเดิม และการเรียนรู้ของสมาชิกในชุมชนเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยการเรียนรู้ของสมาชิกในชุมชนตะโหมดเกิดขึ้นกับบุคคล 3 กลุ่มตามระดับการมีส่วนร่วมในกระบวนการวิจัย คือ คณะกรรมการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ คณะกรรมการป่าชุมชนเขาหัวช้าง และสมาชิกในชุมชน ตามลำดับ

คำสำคัญ : กระบวนการเรียนรู้, การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ, ป่าชุมชน This action research aims to develop a learning process of community – based on ecotourism management. The study focused on Tamot community, since its community members are interested in developing ecotourism as a means to conserve their community forest. The community’s learning was related to three factors : (1) the community capital which comprises ecological, human, socio – cultural, wisdom, and monetary capital; (2) the dynamics of the external factors, which are associated with the community capital and the community’s learning; (3) the development of the learning process in ecotourism management. The learning outcomes can be categorized into 3 groups based on their involvement : the ecotourism committee, the community forest committee and other community members.

Keywords : community forest, ecotourism, learning process

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=32