Tamjai Awirutthiyothin, . (2005, November 30). การเล่นทางภาษา
Language Play. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 11(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=317.

การเล่นทางภาษา
Language Play

ตามใจ อวิรุทธิโยธิน
Tamjai Awirutthiyothin,

Abstract

Language play is a systemic modification of ordinary language, and can be seen in many languages. Hence, there are many people studying this phenomenon, thus, resulting in a wide variety of technical terms. Following the cross-linguistic study, language play typology, based on modification mechanisms, can be categorized as insertion, rearrangement, institution and deletion. As language play is a communication device, advantages gained from this phenomenon are received by language users and researchers. Although, there are plenty of Thai language plays, no study about language play has been done. If a person would like to study this phenomenon, he/she should collect data and analyze it systematically so as to perceive the modification.

Keywords: language play, modification, non-systemic modification, systemic modification

บทคัดย่อ
การเล่นทางภาษาเป็นการดัดแปลงภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเป็นระบบ ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นในภาษาต่าง ๆ ทั่วโลก นักภาษาหลายคนได้ศึกษาและกำหนดศัพท์ทางวิชาการเรียกปรากฏการณ์นี้แตกต่างกัน ผลการศึกษาข้ามภาษาช่วยให้สามารถจัดแบบลักษณ์ของการเล่นทางภาษาได้ตามกลไกที่ใช้ในการดัดแปลง ได้แก่ กลไกการเติม กลไกการจัดเรียงใหม่ กลไกการแทนที่ และกลไกการลด ด้วยเหตุที่การเล่นทางภาษาเป็นรูปแบบหนึ่งของการใช้ภาษาเพื่อสื่อสาร ดังนั้นประโยชน์ที่ได้จากการเล่นทางภาษาจึงเกิดกับผู้ใช้ภาษารวมไปถึงผู้ศึกษาปรากฏการณ์นี้ ในภาษาไทยมีการเล่นทางภาษาอีกมากที่ปรากฏใช้แต่ยังไม่มีผู้ใดได้ศึกษาไว้ หากจะมีการศึกษาเกี่ยวกับการเล่นทางภาษาซึ่งเป็นการดัดแปลงอย่างเป็นระบบนั้นผู้ศึกษาจำเป็นต้องเก็บข้อมูลและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบเช่นกันจึงจะเข้าใจการดัดแปลงที่เกิดขึ้น

คำสำคัญ: การดัดแปลง, การดัดแปลงอย่างเป็นระบบ, การดัดแปลงอย่างไม่เป็นระบบ, การเล่นทางภาษา

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=317