และ ชุติมา มุตตาหารัช, ., & and Chutima Muttaharat, <. (2005, November 30). ปัญหาและความต้องการการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยในการขอดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการของข้าราชการสาย ข และสาย ค มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Prince of Songkla University Staffs’ Problems and Needs in their Procedures to Attain Specialist Positions. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 11(3). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=315.

ปัญหาและความต้องการการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยในการขอดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการของข้าราชการสาย ข และสาย ค มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Prince of Songkla University Staffs’ Problems and Needs in their Procedures to Attain Specialist Positions

นวพร หอมจันทร์ และ ชุติมา มุตตาหารัช,

Nawaporn Homchan and Chutima Muttaharat,

Abstract

The objectives of this research were to investigate and compare Prince of Songkla University supporting staffs’ for support in their procedures to attain specialist positions. The data were analyzed by using percentage, means, the t-test and one-way ANOVA. The results revealed that the overall and specific problems faced by Lines B and Line C, supporting staffs were at a moderate level, and that the level of their needs for support was high. In comparison, the supporting stafffs of different lines differed in their problems regarding work characteristics, evaluation criteria and methods used by the university committee. Besides the above problems, those with different educational backgrounds faced different problems, personal factors, and working environment. The staffs of different genders had different problems about the evaluation criteria and methods used by the university subcommittee, and had different needs for support.

Keywords: expert position, Line B and Line C supporting staffs, needs for support promotion problems, specialist position

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัญหาและความต้องการการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยในการขอดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการของข้าราชการ สาย ข และ สาย ค มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย t-test และ One Way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า (1) ข้าราชการสาย ข และสาย ค มีปัญหาในภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง (2) มีความต้องการการสนับสนุนอยู่ในระดับมาก (3) ผลการเปรียบเทียบปัญหาและความต้องการการสนับสนุนพบว่า (3.1) ผู้ที่มีสายงานต่างกัน มีปัญหาด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ และด้านหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของ ก.ม. แตกต่างกัน (3.2) ผู้ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน มีปัญหาด้านหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของ ก.ม. ด้านปัจจัยส่วนตัว และด้านสภาพแวดล้อม แตกต่างกัน (3.3) ผู้ที่มีเพศต่างกัน มีปัญหาด้านหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของ อ.ก.ม. แตกต่างกัน (3.4) ผู้ที่มีเพศต่างกันมีความต้องการการสนับสนุน แตกต่างกัน

คำสำคัญ: ข้าราชการสาย ข และ สาย ค, ความต้องการการสนับสนุน, ตำแหน่งผู้ชำนาญการ

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=315