เรืองจรูญ, ., & Ruangjaroon, <. (2012, March 22). การวิเคราะห์ส่วนเติมเต็มส่วนขยายรวมและสเปกซิไฟเออร์ในภาษาไทย
An Analysis of Complements, Adjuncts and Specifiers in Thai. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 18(1). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=951.

การวิเคราะห์ส่วนเติมเต็มส่วนขยายรวมและสเปกซิไฟเออร์ในภาษาไทย
An Analysis of Complements, Adjuncts and Specifiers in Thai

สุกัญญา เรืองจรูญ, ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Sugunya Ruangjaroon, Department of Linguistics, Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University

Abstract

Complements typically are selected by a head and imposed by categorical and semantic restrictions while adjuncts are not. However, there has been a limited number of studies in Thai literature. This paper, therefore, proposes the analysis of complements, adjuncts and specifiers in Thai using an X-theory (Chomsky 1981) and a minimalist account (Chomsky 1995a, 1995b, 2000). The results reveal no difference of the asymmetry linearization between Thai complements and specifiers. Adjuncts, however, are not linearized according to the Linear Correspondence Axiom (LCA: Kayne 1994, Nunes & Uriagereka 2000). To account for the permissible derivation of adjuncts to be spelled out at a phonological component, I claim that a linear order via the LCA must be established only if elements are in theta relation.

Keywords :adjuncts, complements, Linear Correspondence Axion, Minimalism, specifiers

บทคัดย่อ
ส่วนเติมเต็มและส่วนขยายรวมมักถูกอธิบายว่า สว่ นเติมเต็มเปน็ หนว่ ยที่ตอ้ งเติมเพื่อใหป้ ระโยคสมบูรณ ์ ในทางวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ ในขณะที่ส่วน ขยายรวมทำหนา้ ที่เสริมหรือขยายความ อยา่ งไรก็ตาม ไมป่ รากฏงานวิจัยของหนว่ ยหนา้ ที่ 2 หนว่ ยนี้ ในภาษาไทย งานวิจัยฉบับนี้จึงนำเสนอการวิเคราะห์ส่วนเติมเต็ม ส่วนขยายรวม และสเปกซิไฟเออร์ในภาษาไทยตาม ทฤษฎีเอกซ์บาร์ (Chomsky, 1981) และโครงสร้างวลี แบบมินิมัลลิซึม (Chomsky 1995a, 1995b, 2000) มุ่งเน้นความสมบูรณ์ระดับอธิบาย ผลจากการวิจัย พบว่า ส่วนเติมเต็มและสเปกซิไฟเออร์ การเรียง โครงสร้างมีความคล้ายคลึงกันและเป็นไปตามสัจพจน์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างแนวทแยง (Kayne, 1994; Nunes & Uriagereka, 2000) ถ้ารูปแทนในส่วน วากยสัมพันธ์ไม่เป็นไปตามสัจพจน์ความสัมพันธ์ของ โครงสร้างแนวทแยง การปฎิบัติการการผสานจะ ล้มเหลวและไม่สามารถส่งต่อไปยังส่วนสัทรูปได้ซึ่งเป็นสิ่งที่เราได้ยิน อย่างไรก็ตามพบความแตกต่าง ของการเรียงโครงสร้างระหว่างส่วนเติมเต็มกับส่วน ขยายรวม โครงสร้างส่วนขยายรวมละเมิดสัจพจน์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างแนวทแยง ผู้วิจัยจึงเสนอ ให้เพิ่มเงื่อนไขด้านทีตาสัมพันธ์ในการแก้ปัญหา

คำสำคัญ: การจัดเรียงโครงสร้างแนวทแยง, ส่วน เติมเต็ม, ส่วนขยายรวม, สเปกซิไฟเออร์, มินิมัลลิซึม

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=951