เอื้อจิระพงษ์พันธ์, ., ปานผู้มีทรัพย์, ., ว่องเจริญวัฒนา, ., Aujirapongpan, <., Parnphumeesup, P., & Wongcharoenwatthana, J. (2010, February 8). ปัจจัยกำหนดโครงสร้างเงินทุนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยช่วงก่อน และภายหลังเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ
The Determinants of Capital Structure of Listed Companies in the Stock Exchange of Thailand Before and After the Economic Crisis. Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities [Online], 15(5). Available: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=682.

ปัจจัยกำหนดโครงสร้างเงินทุนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยช่วงก่อน และภายหลังเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ
The Determinants of Capital Structure of Listed Companies in the Stock Exchange of Thailand Before and After the Economic Crisis

สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์, สำนักวิชาการจัดการ, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ปิยะ ปานผู้มีทรัพย์, สำนักวิชาการจัดการ, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
จันทิมา ว่องเจริญวัฒนา, หลักสูตรบัณฑิตศึกษาทางการจัดการ, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

Somnuk Aujirapongpan, School of Management, Walailak University
Piya Parnphumeesup, School of Management, Walailak University
Janthima Wongcharoenwatthana, Graduate Program in Management, Walailak University

Abstract

This research is a study of factors determining the capital structure, which include short-term liabilities, long-term liabilities, and book value of equities, of companies registered in the Stock Exchange of Thailand by using multiple regression model. The time of the study is before and after the economic crisis of 1997. The findings showed that the growth and the size of business had positive impact on the capital structure expressed in terms of the long-term debt ratio, while profitability related negatively with the capital structure. On the other hand, business growth and non-debt tax shield showed positive impact on the short-term debt ratio. But profitability and size of business had negative impact on the short-term debt ratio. It also found that business growth had positively related to the capital structure in terms of the long-term debt ratio. But profitability and non-debt tax shield showed negative relation with the long-term debt ratio. In addition, the study found business growth affected positively the capital structure in terms of the short-term debt ratio. On the contrary, the profitability had negative impact on the short-term debt ratio.

Keywords: capital structure, debt ratio, economic crisis, The Stock Exchange of Thailand

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ ได้ศึกษาถึงปัจจัยกำหนดโครงสร้างเงินทุนซึ่งประกอบด้วย หนี้สินระยะสั้น หนี้สินระยะยาวและทุน (ตามมูลค่าทางบัญชี) ของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยช่วงก่อน และภายหลังเกิดวิกฤติ เศรษฐกิจ โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาช่วงก่อนเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ พบว่า ปัจจัยการเติบโตของธุรกิจ และขนาดธุรกิจ มีผลด้านบวกต่อโครงสร้างเงินทุนในรูปของสัดส่วนหนี้ระยะยาวต่อทุน แต่ปัจจัยความสามารถในการ ทำกำไร มีผลด้านลบต่อโครงสร้างเงินทุนในรูปของสัดส่วนหนี้ระยะยาวต่อทุน ส่วนปัจจัยการเติบโตของธุรกิจ และ รายการช่วยลดภาษีที่มิใช่หนี้ มีผลด้านบวกต่อโครงสร้างเงินทุนในรูปของสัดส่วนหนี้ระยะสั้นต่อทุน แต่ปัจจัยความ สามารถ ในการทำกำไร และขนาดธุรกิจ มีผลด้านลบต่อโครงสร้างเงินทุนในรูปของสัดส่วนหนี้ระยะสั้นต่อทุน สำหรับ ผลการศึกษาภายหลังเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ พบว่า ปัจจัยการเติบโตของธุรกิจ มีผลด้านบวกต่อโครงสร้างเงินทุนในรูป ของสัดส่วนหนี้ระยะยาวต่อทุน แต่ปัจจัยความสามารถในการทำกำไร และรายการช่วยลดภาษีที่มิใช่หนี้ มีผลด้านลบ ต่อโครงสร้างเงินทุนในรูปของสัดสว่ นหนี้ระยะยาวตอ่ ทุน นอกจากนี้ผลการศึกษา ยังพบว่าปัจจัยการเติบโตของธุรกิจ มีผลด้านบวกต่อโครงสร้างเงินทุนในรูปของสัดส่วนหนี้ระยะสั้นต่อทุน ในขณะที่ปัจจัยความสามารถในการทำกำไรมี ผลด้านลบต่อโครงสร้างเงินทุนในรูปของสัดส่วนหนี้ระยะสั้นต่อทุน

คำสำคัญ:โครงสร้างเงินทุน, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, วิกฤติเศรษฐกิจ, สัดส่วนหนี้สินต่อทุน

Full Text: PDF




Copyright for articles published in this journal is retained by the authors, with first publication rights granted to the journal. By virtue of their appearance in this open access journal, articles are free to use, with proper attribution, in educational and other non-commercial settings.

Original article at: https://kaekae.oas.psu.ac.th/ojs/psuhsej/viewarticle.php?id=682