Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 18, No. 3 (2012) open journal systems 


วิ ธีการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสัมภาษณ์ในผู ้ถูกสัมภาษณ์ที่ มีภาวะวิกฤติ ทางจิตใจจากเหตุการณ์รุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
A Method of Data Collection through the Interview of People who Experienced Mental Health Crisis during Violent Situation in Southern Border Provinces, Thailand


จุรีย์ ธี รัชกุล, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร

Juree Thirachkul, Faculty of Nursing, Princess of Naradhiwas University


Abstract
This article looked into concepts and experiences in collecting qualitative data through interview of those who experienced mental health crisis during violent situation in southern border provinces. interview method with interviewees with mental health crisis was semi - structured interview together with “mental health crisis intervention” technique in every step of interview process. This technique included building trust during the preparation phase, the intervention when the interviewees had symptoms of mental health crisis during interview, and the interviewee’s mental health evaluation at the end of interview. If mental health crisis still persisted, interviewers should have ethical responsibility by providing basic mental intervention. In case of no improvement, more advanced interventional therapies by either a psychologist of a psychiatrist are recommended. In addition, through interview process, cultural context and ways of life of informants should also be taken into consideration.

Keywords: mental health crisis intervention, collection of data through the interview, mental health crisis

บทคัดย่อ
บทความนี้ได รวบรวมแนวคิดและประสบการณ การเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพแบบสั มภาษณ ในผู ที่มีภาวะวิกฤติ ทางจิตใจจากเหตุการณ รุนแรง ในจังหวัดชายแดนภาคใต วิธีการสัมภาษณที่เหมาะสม กับผู ถู กสัมภาษณ ที่มีภาวะวิ กฤติทางจิตใจ คื อการ สัมภาษณแบบ กึ่งมีโครงสรางและใชเทคนิค “การเยียวยา จิตใจในภาวะวิกฤติ” ในทุกขั้ นตอนการสั มภาษณ ได แก การสรางความไววางใจในขั้นตอนการเตรียม สัมภาษณ การเยียวยาจิตใจเมื่อผูถูกสัมภาษณ มีภาวะ วิกฤติทางอารมณขณะดําเนินการสัมภาษณ ตลอดจน การประเมินสภาพจิตใจผู ถูกสัมภาษณในขั้นสิ้ นสุด การสัมภาษณ ยังมีภาวะวิ กฤติทางจิตใจหลงเหลืออยู ผูสัมภาษณควรมีจรรยาบรรณแสดงความรับผิดชอบ ใหการเยียวยาจิตใจเบื้องตน และหากไมดีขึ้นผู สัมภาษณ ควรพิจารณาสงตอนักจิตวิทยาหรื อจิตแพทยเพื่ อ ทําการบําบัดจิตใจในขั้นตอไป นอกจากนี้ ในทุกขั้นตอน ของการสัมภาษณ ผูสัมภาษณควรคํานึงถึงบริบททาง วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของผูถูกสัมภาษณดวย

คําสําคัญ: การเยียวยาจิตใจในภาวะวิกฤติ, การเก็บ รวบรวมขอมูลแบบสัมภาษณ, ภาวะวิกฤติทางจิตใจ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548