Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 18, No. 2 (2012) open journal systems 


ความทาทายองคการของนักการศึกษาในยุคการปฏิรูปการศึกษาและความไมสงบ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต
Organizational Challenges of Educators the Era of Education Reform and Unrest: A Case Study of Southern Border Provinces


เอกรินทร์ สังข์ทอง, ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
คณิตา นิจจรัลกุล, ภาควิชาการบริหารการศึกษา

Ekkarin Sungtong, Department of Educational Technology, Faculty of Education, Prince of Songkla U
Kanita Nitjarunkul, Department of Educational Administration, Faculty of Education, Prince of Songk


Abstract
This qualitative study aimed to seek insights into organizational challenges of educators associated with education reform and unrest in Southern border provinces of Thailand as well as the nature of educators’ leadership in responding to those challenges. Key informants were 21 educators including teachers, supervising teachers, and administrators from both public and private primary schools in Pattani, Yala, Narathiwat, Songkla, and Satun. A purposeful selection was employed to select sites and participants for the study. Research instruments were semi-structure interview protocol, related documents, and researchers as a key instrument. Data were analyzed by using grounded theory techniques. This study revealed that organizational challenges of educators in the era of education reform were dealing with curriculum management, increasing students’ reading competency, coping with teachers’ overloaded work, and managing limited budget. Organizational challenges in the era of unrest were dealing with instructional management, dealing with fear, morale, encouragement, and happiness in working, and ensuring safety for organization, students, teachers, and personnel staff. The nature of educators’ leadership emerging in response to organizational challenges in education reform and unrest were becoming patient, dedicate, and adaptive persons, changing instructional methods, building collaborations with stakeholders, and promoting professional development.

Keywords: Organizational challenges, Education reform, Unrest, the nature of leadership, Southern border provinces

บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องนี้มีวัตถุ ประสงค เพื่อ ศึกษาความทาทายองคการของนักการศึกษาอันมีผล มาจากการปฏิรูปการศึกษาและความไมสงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต รวมถึงธรรมชาติ ของภาวะผู นํ าใน องคการในการตอบสนองตอความทาทาย เหลานั้น ผู ใหขอมูลสําคั ญคือ นักการศึกษาซึ่งประกอบดวย ครูผูสอน อาจารยพี่เลี้ยงนักศึกษาฝกสอน และผูบริหาร สถานศึกษา รวมทั้ งสิ้ น 21 คน ซึ่งปฏิ บัติ หนาที่ใน โรงเรียนระดับประถมศึกษาสังกัดภาครัฐและเอกชนใน จังหวัดปตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสตูล ผูให ขอมูลสําคัญไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือ ในการวิจัยคือแบบสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง เอกสาร ที่เกี่ยวของ และตัวผูวิจัยเอง ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูล ด วยวิธีการสัมภาษณเชิงลึ ก วิเคราะหข อมูลโดยใช เทคนิควิธีการสรางทฤษฎีจากขอมูล ผลการวิจัยพบวา องค การในยุ คปฏิรู ปการศึกษาตองเผชิ ญกับความ ทาทายในสี่ ประเด็ นหลั กๆ คื อ การบริ หารจั ดการ หลักสู ตร การเพิ่ มสมรรถนะทางดานการอานของ นักเรียน การจัดการกับภาระงานที่เพิ่มขึ้นของบุคลากร และการบริหารจัดการงบประมาณที่จํากัด สวนความ ไมสงบในพื้นที่สรางใหเกิดความทาทายในสี่ประเด็นหลัก คือ การเรียนการสอนและการบริหารจัดการ ความกลัว: การขาดขวัญ กําลังใจและความสุขในการทํางานการสราง ให เกิ ดความปลอดภั ยแก องค การ นักเรียน ครู และ บุ คลากรทางการศึกษา และการสรางความสัมพันธ และความรู สึกที่ดีตอกันระหวางองคการและผู มีสวน ได เสีย ธรรมชาติ ภาวะผู นํ าของนักการศึกษาในการ ตอบสนองตอความทาทายเหลานั้นไดแก การแสดงออก ถึงความอดทน ทุมเทและปรับตัว การปรับวิ ธี เรียน เปลี่ยนวิธีสอน การสรางความรวมมือกับผู มีสวนไดเสีย และการพัฒนาวิชาชีพ

คําสําคัญ: ความทาทายองคการ, การปฏิรูปการศึกษา, ความไมสงบ, ธรรมชาติภาวะผูนํา, จังหวัด ชายแดนภาคใต


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548