Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 18, No. 1 (2012) open journal systems 


โทรศัพท์มือถือ: ความหมายที่มากกว่าเครื่องมือสื่อสาร
Mobile Phone: More than a Communication Device


อักษราภัค หลักทอง, คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
ภัทรา บุรารักษ์, คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

Aksarapak Lucktong, Faculty of Management and Information Science, University of Phayao
Phattar Burarak, Faculty of Management and Information Science, University of Phayao


Abstract
The study was to examine the use and meaning of mobile phone and consumer behavior of the young people in Phayao. A combination of survey and focus group discussions were used. The research tool was a questionnaire was designed using the theories of Uses and Gratification and Semiology. The results revealed that not only were mobile phones used as an individual communication tool but they were also used to communicate among group members. Most youth used this communication tool to share information, experiences, and feelings through chat, SMS and photo features. Moreover, the fact that family members staying or working away from home showed to be a vital factor provoking the high frequency in using mobile phones in order to keep in touch.

Keywords: mobile phone, sign value

บทคัดย่อ
การศึกษา “การให้สัญญะความหมายกับ พฤติกรรมการบริโภคโทรศัพท์มือถือของเยาวชนใน จังหวัดพะเยา” เป็นการศึกษาพฤติกรรมการใช้ โทรศัพท์มือถือของเยาวชนในพื้นที่จังหวัดพะเยา ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามที่สร้างขึ้น ตามแนวคิดทฤษฎีการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจ และทฤษฎีการสร้างสัญญะกับการบริโภค รวมทั้ง การสนทนากลุ่ม เพื่อศึกษาการให้ความหมายหรือนัย ยะต่อโทรศัพท์มือถือของเยาวชน ผลการศึกษาพบว่า สื่อดังกล่าวมิได้มีความหมายของการเป็นเพียงเครื่อง มือสื่อสารของปัจเจกบุคคลเท่านั้น แต่ยังมีลักษณะของ การเป็นเครื่องมือสื่อสารภายในกลุ่ม โดยเยาวชนส่วนใหญ่จะใช้โทรศัพท์มือถือเป็นเครื่องมือในการแบ่งปัน ข่าวสาร ประสบการณ์ และความรู้สึกให้แก่กัน ผ่าน การพูดคุย การส่งข้อความสั้น รวมทั้งการใช้โทรศัพท์ มือถือแทนกล้องถ่ายรูปในการบันทึกภาพกิจกรรมของ กลุ่มเพื่อนและส่งภาพให้กันภายในกลุ่ม นอกจากนี้ จากการศึกษาพบว่า ลักษณะความสัมพันธ์ภายใน ครอบครัวเป็นปัจจัยกระตุ้นต่อปริมาณหรือความถี่ การใชง้ าน โดยครอบครัวที่แยกกันอยู ่พอ่ แมไ่ ปทำงาน ในเมืองหลวงหรือต่างจังหวัด เยาวชนจะใช้โทรศัพท์ มือถือเป็นสื่อกลางในการสานเชื่อมความสัมพันธ์ของ ครอบครัวค่อนข้างมาก

คำสำคัญ: การให้สัญญะความหมาย, โทรศัพท์มือถือ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548