Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 17, No. 6 (2011) open journal systems 


การปฏิรูปการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
Education Reform in Southern Border Provinces


บรรจง ฟ้ารุ่งสาง, โรงเรียนสาธิต คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ไข่มุก อุทยาวลี, ภาควิชาประวัติศาสตร์และศิลปะ, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์,มหาวิทยาลัยสงขลานคริน
เอกรินทร์ สังข์ทอง, ภาควิชาการบริหารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์,มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ไฟซ็อล หะยีอาวัง, ภาควิชาอิสลามศึกษา, มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

Barnchong Farrungsang, Department of Demonstration School, Faculty of Education, Prince of Songkla Univ
Kaimook Uttayawalee, Department of History and Art, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince
Ekkarin Sungtong, Department of Educational Administration, Faculty of Education, Prince of Songkl
Faisol Haji-Awang, Department of Islamic Studies, Yala Islamic University


Abstract
This research aims to analyze education management in three areas: 1) curricula integrated with local wisdom, 2) structural problems of effective educational administration and 3) government policy on education management in southern border provinces. The study is a qualitative research using a combination of three methods: documentary analysis, interview and group discussions, and participatory action research (PAR).The results reveal three main issues. Firstly, curricula analyzed are inconsistent with learning capacity of the locals. Learning assessment for main courses is found to be low. This is a result of ineffective learning process due to the lack of effective communication, analytical thinking and teaching personnel. Cultural diversity is also an issue. In addition, teaching personnel are not conversant with curriculum design and development. There should be integrated curricula, proper transfer systems and capacity development of teaching personnel. Secondly, as for the structure of education administration, each area lacks proper cooperation with educational agencies. The government should strengthen effective structural administration of private schools and develop or improve supervision units to ensure the quality. Lastly, in respect of policies on education management, the government should promote more learning opportunities for education and decentralization should be used based on education reform.

Keywords: curriculum integrated, education quality, local educational policy, southern border provinces, Structural Administration, The Education to Reform

บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องการปฎิรูปการศึกษาในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ มุ่งการประมวลสภาพการดำเนินการจัดการ ศึกษาโดยทำการสำรวจวิเคราะห์ใน 3 ประเด็น กล่าวคือด้านหลักสูตรการศึกษาที่บูรณาการเชื่อมโยง กับภูมิปัญญาของท้องถิ่น สองคือ ปัญหาปัญหาด้าน โครงสร้างการบริหารการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ และ ด้านนโยบายการจัดการศึกษาของรัฐที่มีต่อพื้นที่ใน จังหวัดชายแดนภาคใต้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพและวิเคราะห์ระบบการจัดการศึกษาจาก โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาทั้ง 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ได้แก่จังหวัดปัตตานี ยะลาและนราธิวาส โดยใช้กระบวนการวิจัย 3 ส่วนคือ การวิจัยเอกสาร, การสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่มแบบธรรมชาติ และวิธีวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม(PAR) ผลการวิจัยพบว่า 1.ปัญหาของหลักสูตรและการศึกษาในเขต พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ผ่านมาคือ ส่วนใหญ่ เนื้อหาหลักสูตรหลายกลุม่ สาระยังไมมี่ความสอดคลอ้ ง กับสภาพการเรียนรู้ของสังคมในท้องถิ่น การประเมิน คุณภาพการเรียนในวิชาหลักของหลักสูตรสามัญอยู่ ในเกณฑ์ตํ่า ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากปัจจัยของ กระบวนการเรียนรู้ที่ยังขาดการส่งเสริมการสื่อสาร การคิดวิเคราะห์ และปัญหาครูในพื้นที่สอนไม่ตรงตาม วุฒิการศึกษา รวมทั้งปัญหาที่เกิดจากบริบททางสังคม วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ปัญหาของการสร้างหลักสูตร ท้องถิ่นคือ ครูในพื้นที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจใน การจัดทำหลักสูตร และควรมีการสร้างหลักสูตรใน รูปแบบการสอนอย่างบูรณาการกัน และมีระบบการ เทียบโอนช่วงชั้นการเรียนทุกระดับของการศึกษาใน พื้นที่ จะต้องมีความต่อเนื่องสอดคล้องกันระหว่างช่วง ชั้นการเรียน รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทาง การศึกษาที่สามารถจัดกระบวนการเรียนรูที้่เหมาะสม 2. ด้านโครงสร้างการบริหารการศึกษา พบว่า ในแต่ละ เขตพื้นที่การศึกษายังขาดการประสานงานระหว่าง หน่วยงานที่ดูแลการศึกษา รัฐควรเร่งพัฒนาศักยภาพ ของโรงเรียนเอกชนให้มีโครงสร้างการบริหารงานและ การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และมีการสร้างหรือ ปรับปรุงหน่วยงานที่ทำหน้าที่นิเทศ ติดตามผลตรวจ สอบการบริหารจัดการศึกษาซึ่งมีสถานภาพเป็น นิติบุคคลในอนาคต 3. ด้านนโยบายการจัดการศึกษา ของรัฐเพื่อ การขยายโอกาสทางการศึกษานั้น ควรเร่ง สง่ เสริมการกระจายอำนาจในการจัดการศึกษาสูชุ่มชน ตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการของรัฐ

คำสำคัญ: การปฏิรูปการศึกษา, คุณภาพการศึกษา,โครงสร้างการบริหารการศึกษา, จังหวัด ชายแดนภาคใต้, นโยบายการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน, หลักสูตรท้องถิ่น,


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548