Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 17, No. 6 (2011) open journal systems 


รัฐไทยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 กับการจัดการผู้ป่วยโรคเรื้อน
The Thai State after the 1932 Revolution and the Leprosy Control


ธันวา วงศ์เสงี่ยม, ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Tanwa Wongsangiam, Department of History, Faculty of Arts, Chulalongkorn University


Abstract
This article is aimed at studying the leprosy control during 1930s-1950s, when leprosy became an outbreak in society and was considered as a social issue that needed immediate action. The state measures were influenced by several factors namely democracy, human rights and freedom, pressure from the public and House of Representatives, and international aids. Primary sources indicate that due social disgust, leprosy patients were initially segregated from the society for the sake of public security. As a result, the Government measures were to control, label and limit patients’ rights and freedom which absolutely were against the principles of democracy. These severe and unsympathetic measures were loosened up in 1950s after the discovery of leprosy treatment through international aids together with other health promotion programs. Ever since leprosy control has became more effective and humanized with public cooperation and participation.

Keywords: leprosy control, leprosy history, leprosy and human rights, leprosy and democracy

บทคัดย่อ
บทความนี้เปน็ การศึกษาปญั หาการจัดการผูป้ ว่ ย โรคเรื้อนในสังคมไทยระหว่างทศวรรษ 2470 ถึง ทศวรรษ 2490 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มีผู้ป่วยโรคเรื้อน ในประเทศเป็นจำนวนมาก และถือว่าเป็นปัญหาสังคม ซึ่งรัฐจะต้องจัดการแก้ไข การดำเนินการของรัฐต่อ ผู้ป่วยโรคเรื้อนในช่วงเวลาดังกล่าวได้รับอิทธิพลจาก ปัจจัยหลายประการ ทั้งหลักการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย หลักสิทธิเสรีภาพ หลักสิทธิมนุษยชน การผลักดันจากประชาชนรวมทั้งสภาผู้แทนราษฎร และความช่วยเหลือจากต่างประเทศ จากการศึกษา เอกสารชั้นต้นแสดงให้เห็นว่าในช่วงแรกรัฐต้องการ เพียงจัดการควบคุมผู้ป่วยโรคเรื้อนเพื่อไม่ให้ปะปน เป็นภัยอยู่ในสังคมเท่านั้นเนื่องจากมีการเรียกร้องมา จากประชาชนที่มีความรังเกียจในสภาพของผู้ป่วย และหวั่นเกรงการติดโรค ทำให้รัฐเกิดความชอบธรรม ในการจัดการควบคุม ซึ่งมาตรการที่ใช้ก็มีการบังคับ ตีตรา ลิดรอนสิทธิเสรีภาพของผูป้ ว่ ยในการดำเนินชีวิต ขัดแย้งกับหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่เพิ่ง สถาปนาขึ้น การควบคุมบังคับผูป้ ว่ ยโรคเรื้อนลดลงใน ช่วงทศวรรษ 2490 ที่มีการค้นพบวิธีการรักษาโรคเรื้อน ที่ทำให้ผู้ป่วยหายจากโรคได้จริงรวมทั้งได้รับความ ช่วยเหลือจากต่างประเทศ การจัดการกับผู้ป่วยโรค เรื้อนหลังจากนั้นจึงมีประสิทธิภาพและมีความเป็น มนุษยธรรมมากขึ้น รวมทั้งได้รับความร่วมมือจาก ประชาชน

คำสำคัญ: การควบคุมโรคเรื้อน, ประวัติศาสตร์โรคเรื้อน, โรคเรื้อนกับสิทธิมนุษยชน, โรคเรื้อนกับ ประชาธิปไตย


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548