Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 8, No. 1 (2002) open journal systems 


The Relationship Between Teaching Competency and the Academic Achievement of Science Program Students of the Faculty of Education, Prince of Songkla University

Pun thongchumnum, Demonstration School, Faculty of Education,Prince of Songkla University


Abstract
This study primarily aimed to examine the relationship befween teaching cometency and the academic achievement of fourth-year Science Program students in the Faculty of Education, Prince of Songkla University. The subjects were 151 fourth-year Science Program Students doing their student teaching practicum over a four-month period in the first semester of the 1999 academic year. Independent variables comprised the samples’ academic achievement records in three subject-group courses drawn from the student Records and admission Office at Prince of Songkla University. Dependent variables comprised six specific skills of teaching competency collected through the use of the “Student Teaching Behavior Observation Form”. Data obtained was analyzed using arithmetic mean, standard deviation, one-way ANOVA. Correlation courses, academic achievement in the specialized major courses and academic achievement in science foundations major courses. 2) The teaching competencies in descending rank order were conclusion skills, evaluation skills, manipulation of instructional activities skills, introduction to the lesson skills, questioning skills and reinforcement skills respectively. 3) There was a significant difference in the subjects academic achievement in each area of the three-group courses at the .05 level. 4) There was a significant difference in each of the six specific skills in the subjects’ teaching competency at the .05 level. 5) The academic achievement in educational in educational profession courses could make predictions for five skill areas of teaching competency. but not in conclusion skills. However, the academic achievement in science foundations major courses and specialized major courses could make no prediction for teaching competency. Keywords : academic achievement, teaching competency การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถภาพการสอนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสายวิทยาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา เป็นนักศึกษาสายวิทยาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ชั้นปีที่ 4 ที่กำลังออกฝึกสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2542 จำนวน 151 คน ตัวแปรอิสระคือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน 3 กลุ่มรายวิชาซึ่งได้จากสำนักงานทะเบียน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตัวแปรตามคือ สมรรถภาพทางการสอน 6 ด้านที่ได้จากการรวบรวมโดยใช้แบบฟอร์มสังเกตพฤติกรรมการสอน การวิเคราะห์ข้อมูลทำการวิเคราะห์เป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว สหสัมพันธ์และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาเรียงจากมากไปน้อยคือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มวิชาชีพทางการศึกษา กลุ่มวิชาเอกและกลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาเอก 2) สมรรถภาพทางการสอนของนักศึกษาเรียงจากมากไปน้อยคือ ทักษะการสรุปบทเรียน ทักษะการประเมินผล ทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการนำเข้าสู่บทเรียน ทักษะการใช้คำถามและทักษะการเสริมแรง 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาใน 3 กลุ่มวิชามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) สมรรถภาพทางการสอนของนักศึกษาทั้ง 6 ทักษะ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มวิชาชีพทางการศึกษาสามารถพยากรณ์สมรรถภาพทางการสอนได้ 5 ทักษะ ยกเว้นทักษะการสรุปบทเรียน ขณะที่ผลสัมฤทธิ์การเรียนในกลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาเอกและกลุ่มวิชาเอกไม่สามารถพยากรณ์สมรรถภาพทางการสอนได้ คำสำคัญ : ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, สมรรถภาพทางการสอน


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548