Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 17, No. 1 (2011) open journal systems 


การประเมินศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน: กรณีศึกษาถ้ำภูผาเพชร และถ้ำเจ็ดคต ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
The Assessment of the Potentials of Community-Based Eco-tourism Management: A Case Study of Phuphaphet Cave and Jedkot Cave Tambon Palmpattana, Amphoe Manang, Changwat Satun


อภิรดี ซ้วนตั้น, สถาบันพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เสาวลักษณ์ รุ่งตะวันเรืองศรี
ชนิษฎา ชูสุข, คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Apiradee Suantan, Institute of Ecotourism, Srinakharinwirot University
Saowalak Roongtawanreongsri, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University
Chanisada Chusuk, Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University


Abstract
This research aimed to assess the potentials of community-based eco-tourism management for Phuphaphet and Jedkot caves in Satun Province and study guidelines to improve them. The study was done using 3 assessment forms. The assessment from the 3 forms yielded similar results: the quality standards of the two caves were in good level. From the assessment form designed specifically for the study area, the result showed that the Phuphaphet and Jedkot caves had high potential level for development as a community-based eco-tourism management. For eco-tourism and the nature tourist place assessment standard forms, the results showed that the potential levels were good and very good respectively. For the rafting activity standard assessment form, these tourist places got three stars, where five-stars means the highest and one-star is the lowest. Guidelines for developing the potential were brainstormed with participation from the stakeholders. A certain number of suggestions was recommended for 15 main issues. There were 6 issues that the community needs to corporate with some organizations to take roles in improving them: the ability to endure cultural and ecosystem changes, solid waste management, environmental resource conservation benefit, economic benefit, management of the follow up and change assessment of the area from tourism. The remaining 9 issues are identified and suggested to different specific organizations to help improve the potential.

Keywords: community-based eco-tourism, Jedkot cave, Phuphaphet cave, potential

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินและศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยว เชิงนิเวศบริเวณถ้ำภูผาเพชรและถ้ำเจ็ดคต จังหวัดสตูล โดยใช้แบบประเมินศักยภาพ 3 รูปแบบ ผลการประเมิน ศักยภาพ พบว่า ส่วนใหญ่มีความสอดคล้องกัน ได้แก่ แบบประเมินศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ ออกแบบเฉพาะเจาะจงสำหรับพื้นที่ศึกษา มีผลการประเมินศักยภาพอยู่ในระดับสูง แบบประเมินมาตรฐาน คุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ พบว่า มีมาตรฐานคุณภาพอยู่ในระดับดี แบบประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ พบว่า มีมาตรฐานคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ในส่วนผลการประเมินมาตรฐานกิจกรรม ล่องแก่ง พบว่า มีมาตรฐานอยู่ในระดับสามดาว (ซึ่งการกำหนดระดับมาตรฐานตามลำดับจากสูงไปหาต่ำ ได้แก่ ห้าดาว - หนึ่งดาว) แนวทางการพัฒนาศักยภาพจากผลการจัดประชุม พบว่า มีประเด็นในการกำหนดแนวทาง พัฒนาศักยภาพ 15 ประเด็น โดยมีประเด็นที่กำหนดแนวทางให้ชุมชนร่วมมือกับองค์กรผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่ม ต่างๆ 6 ประเด็น ได้แก่ ความสามารถในการรับการเปลี่ยนแปลงต่อระบบนิเวศและวัฒนธรรม การจัดการขยะ ประโยชน์ต่อชุมชนด้านการอนุรักษ์ ประโยชน์ต่อชุมชนด้านเศรษฐกิจ และการจัดการด้านการติดตามและ การประเมินการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ ส่วนอีก 9 ประเด็นเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพที่เสนอต่อองค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆ ให้เป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพให้มีศักยภาพที่ดียิ่งขึ้น

คำสำคัญ: การท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน, ถ้ำเจ็ดคต, ถ้ำภูผาเพชร, ศักยภาพ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548