Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 16, No. 5 (2010) open journal systems 


The Thai General Election of 2007 and Political Communications
การเลือกตั้งทั่วไปของประเทศไทยปี 2550 กับการสื่อสารการเมือง


Wilaiporn Laohakosol, School of Management, Shinawatra International University
John Walsh, School of Management, Shinawatra International University

วิไลพร เลาหโกศล, คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร
John Walsh, คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร


Abstract
Political elections in Thailand have had a comparatively short and often undignified history. It is often concluded that a substantial proportion of such elections are decided by regional loyalties or by vote-buying in one form or another. Consequently, attempts to professionalise electioneering through the injection of ideology, the creation of mass membership parties and the use of sophisticated campaign communications are considered to be failures. However, it is not clear that the facts, as measured by the actual election results, would support such a conclusion. This paper examines the results of the 2007 election in the light of available data with a view to determining to some extent how and why people voted. It is found that regional loyalties do exist (to different degrees of significance) as evidenced by the number of votes cast in each provincial group prescribed by The Election Commission of Thailand (8 groups of 157 constituencies). Some socio-demographic and economic data are correlated with voting patterns, which reflects the policies of political parties and their communication messages to eligible voters through various media channels. Conclusions are drawn from the results and some tentative recommendations are made for the future deployment of political communications as part of political marketing in Thailand.

Keywords: democracy, general election, ideology, regional development, Thailand

บทคัดย่อ
การเลือกตั้งทางการเมืองในประเทศไทยที่ผ่านมามีประวัติที่นับว่าสั้นและบางครั้งไม่สง่างามนัก ซึ่งมักสรุป กันว่าเป็นเพราะการเลือกตั้งเหล่านั้น ส่วนใหญ่มีผลมาจากความภักดีของแต่ละภูมิภาคหรือโดยการซื้อเสียง ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ดังนั้น ผลที่ตามมาซึ่งได้แก่ ความพยายามที่จะทำให้การเลือกตั้งเป็นไปอย่างมืออาชีพ โดยการปลูกฝังอุดมการณ์ การสร้างจำนวนสมาชิกพรรค และการใช้การสื่อสารในการหาเสียงเลือกตั้งที่ซับซ้อน ต่างๆ ไม่เป็นผลสำเร็จ อย่างไรก็ดี จากผลการเลือกตั้งจริงในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2550 ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่า ข้อเท็จ จริงตา่ งๆ จะสนับสนุนขอ้ สรุปขา้ งตน้ บทความนี้ไดศึ้กษาจากขอ้ มูลที่มีอยูเ่ พื่อคน้ หาในระดับหนึ่งวา่ ทำไมประชาชน ไปลงคะแนนเสียงและลงคะแนนเสียงอย่างไร การวิเคราะห์นี้พบว่า ความจงรักภักดีของแต่ละภูมิภาคมีอยู่จริงและ มีหลายระดับ โดยวัดจากจำนวนคะแนนเสียงในแต่ละกลุ่มจังหวัดตามที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนด (8 กลุ่ม 157 เขต) โดยในหลายจังหวัดผูล้ งคะแนนเสียงเลือกผูส้ มัครจากพรรคเดียวกันทั้งทีมโดยไมมี่พรรคอื่นเขา้ มาแทรกเลย นอกจากนี้ ยังพบข้อมูลประชากรศาสตร์ สังคมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์บางตัว มีความสัมพันธ์กับการลงคะแนน เสียงเลือกตั้ง ซึ่งสะท้อนถึงนโยบายของพรรคการเมืองและการสื่อสารของแต่ละพรรคไปยังผู้มีสิทธิ์ออกเสียง เลือกตั้งโดยผ่านสื่อต่างๆ กัน ผลการศึกษาและข้อเสนอแนะในเบื้องต้นของบทความนี้จะนำไปสู่การนำการสื่อสาร การเมืองไปใช้ประโยชน์ในอนาคต อันเป็นส่วนหนึ่งของการตลาดด้านการเมืองในประเทศไทย

คำสำคัญ: การพัฒนาภูมิภาค, การเลือกตั้งทั่วไป, ประชาธิปไตย, ประเทศไทย, อุดมการณ์


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548