Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 16, No. 5 (2010) open journal systems 


เมืองตรังในมุมมองของ เอ็ดน่า บรูเนอร์ บัลค์ลีย์
Muang Trang in the Eyes of Edna Bruner Bulkley


ประพนธ์ เรืองณรงค์

Praphon Ruangnarong


Abstract
Edna Bruner Bulkley, an American missionary, traveled to Siam in 1903, at nearly the end of the reign of King Rama V of Ratanakosin Period. She worked in Bangkok for three years and moved to work in Petchaburi for another two years. Then she and her family moved to work at Trang or Tab Tiang for 24 years (1908-1932). She recorded all kinds of impressions, stories, and events that she experienced in Trang during her stay and work there, which included local history, folklores, and anthropological and sociological aspects. They also included events and stories related to Tab Tiang hospital at that time, residency, minorities, traveling from Bangkok to Trang and Trang to Bangkok, problems concerning bandits, stories of honesty, pets and effects of wars. Edna Bruner and her family had strong bonds, love and pride for Siam, the country where she and her family lived and devoted their time for human beings. Her record, “Siam Was Our Home”, is so valuable and informative that provides the reader with her experiences in Siam through her eyes, which took place more than one hundred years ago.

Keywords: belief, folklore, local history, minority, missionary

บทคัดย่อ
เอ็ดน่า บรูเนอร์ บัลค์ลีย์ มิชชันนารีอเมริกัน เดินทางมาสู่ดินแดนสยามเมื่อปี 1903 ซึ่งตรงกับปลายสมัย รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เธอปฏิบัติงานที่กรุงเทพฯ เป็นเวลา 3 ปี และที่เพชรบุรี 2 ปี หลังจากนั้น เธอและ ครอบครัวเดินทางไปปฏิบัติงานที่เมืองตรังหรือทับเที่ยงนานถึง 24 ปี (ค.ศ.1908-1932) เธอบันทึกถึงความ ประทับใจที่พบเห็นในเมืองตรังไว้มากมาย ไม่ว่าจะเป็นด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่น คติชนวิทยา มานุษยวิทยา และ สังคมวิทยา โดยเล่าถึงโรงพยาบาลทับเที่ยง ถิ่นที่พักอาศัย ชนกลุ่มน้อย การเดินทางจากกรุงเทพฯ-ตรัง, ตรัง-กรุงเทพฯ ปัญหาโจรผู้ร้าย ความเชื่อ สัตว์เลี้ยง และผลของสงคราม เอ็ดน่า บรูเนอร์ และครอบครัว มีความรัก ความผูกพัน และความภาคภูมิต่อแดนสยามที่เธอและครอบครัวมาอยู่อาศัย และมาปฏิบัติงานเพื่อช่วยเหลือ เพื่อนมนุษย์ เธอบันทึก “สยามคือบ้านของเรา” ซึ่งมีคุณค่า และมีสาระอย่างยิ่ง ทำให้ผู้อ่านได้ทราบประสบการณ์ ในมุมมองของเธอเกี่ยวกับสยามยุคหนึ่งร้อยกว่าปีมาแล้ว

คำสำคัญ: ความเชื่อ, คติชนวิทยา, ชนกลุ่มน้อย, ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น, มิชชันนารี


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548