Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 16, No. 3 (2010) open journal systems 


Development of a Knowledge-Sharing Model using CSCL based on a PAL Approach to Enhance Knowledge-Creation Behaviorsof Graduate Students
การพัฒนารูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้แบบรวมมือตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อสงเสริมพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา


Siwanit Auttawutiku, Faculty of Education Chulalongkorn University
Jaitip Na-Songkla, Faculty of Education Chulalongkorn University
Onjaree Na-Takuatoong, Faculty of Education Chulalongkorn University

ศิวนิต อรรถวุฒิกุล, คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา, คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุง, คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


Abstract
The purpose of this research was to develop a knowledge-sharing model by using computer-supported collaborative learning (CSCL), based on a peer-assisted learning (PAL) approach, to enhance knowledge-creation behaviors of graduate students. In this research and development (R&D) dissertation, the knowledge-sharing model was implemented by twenty-five graduate students who were selected by a purposive sampling method. They enrolled during the first semester of the 2008 academic year in the field of Educational Communications and Technology at the Faculty of Education, Chulalongkorn University for sixteen weeks. The research instruments were a CSCL application program, a knowledge-creation behaviors check-list, a product evaluation form, an after action review form, a behaviors observation record form and an individual interview record form. The research findings indicated that the five components of a knowledge-sharing model were: people, content, computer-supported collaborative tools (CSCT), transition and behavior management and evaluation. The six steps of the knowledge-sharing processes were: 1) orientation and group socialization; 2) knowledge identification to reach goal; 3) knowledge acquisition to develop product; 4) knowledge sharing and peer meetings; 5) knowledge creation and revision; and 6) product evaluation and idea integration. There were significant differences in pretest and posttest scores for knowledge-creation behaviors at the .05 level of significance. The overall product outcomes developed by the learners were at a satisfactory level. Keywords: computer-supported collaborative learning, knowledge creation behaviors, knowledge sharing, peer-assisted learning

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ พื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใชค้ อมพิวเตอรส์ นับสนุนการเรียนรู้ แบบร่วมมือตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนิสิตนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา การดำเนินการวิจัยและพัฒนาครั้งนี้ศึกษาผลการใช้งานกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนิสิต ระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 25 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจงที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเวลา 16 สัปดาห์ เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้แบบร่วมมือ แบบวัดพฤติกรรมการสร้างความรู้ แบบประเมินผลงาน แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติกิจกรรม แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม และแบบบันทึก การสัมภาษณ์ความคิดเห็น ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประกอบด้วย บุคคล สาระความรู้ เครื่องมือคอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้แบบร่วมมือ การปรับเปลี่ยนและการจัดการพฤติกรรม และ การประเมิน ส่วนขั้นตอนของกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ ประกอบดว้ ย 1) ขั้นแนะนำแนวทาง สร้างกลุ่ม สัมพันธ์ 2) ขั้นกำหนดความรู้นำไปสู่เป้าหมาย 3) ขั้นสืบเสาะแสวงหา เพื่อพัฒนาผลงาน 4) ขั้นพบปะแลกเปลี่ยน เพื่อนเรียน เพื่อนรู้ 5) ขั้นสร้างสรรค์เผยแพร่ร่วมแก้ร่วมปรับ และ 6) ขั้นประเมินผลงาน ผสานความคิด ด้านนพฤติกรรมการสร้าง ความรูข้ องกลุม่ ตัวอยอย่างหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการวิเคราะห์ คะแนนการประเมินผลงานของกลุม่ ตัวอย่าง พบว่า อยู่ในระดับดี

คำสำคัญ: การเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน, การแลกเปลี่ยนเรียนรู้, คอมพิวเตอร์สนันสนุนการเรียนรู้แบบร่วมมือ, พฤติกรรมการสร้างความรู้


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548