Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 16, No. 2 (2010) open journal systems 


Th e Effects of Pre-Listening Question and Post-Listening Question Techniques on English Listening Comprehension
ผลของกลวิธีการตั้งคำถามก่อนฟังและการตั้งคำถามหลังฟังต่อความเข้าใจในการฟังภาษาอังกฤษ


กิ่งกาญจน์ สุพรศิริสิน, ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปรัชมน อักษรจรุง, ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เปรมินทร์ คาระวี, ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Kingkan in Supornsiris, Department of Languages and Linguistics, Faculty of Liberal Arts, Prince of Song
Prachamon Aksornjarung, Department of Languages and Linguistics, Faculty of Liberal Arts, Prince of Song
Premin Karavi, Department of Languages and Linguistics, Faculty of Liberal Arts, Prince of Song


Abstract
The purposes of this study were twofold: 1) to compare the effects of two questioning techniques, pre-listening and post-listening techniques, on listening comprehension, and 2) to investigate the subjects’ attitudes towards the two techniques. Fifty-eight of third year English major students at Prince of Songkla University, Pattani were the subjects in the study. The pre-listening question technique was administered to Group A of 29 subjects and the post-listening question technique to Group B of 29 subjects. Listening comprehension tests were the instrument of the study. Both groups were also asked to give information related to their attitudes towards the techniques administered. The data were analyzed using a series of t-tests. It was found that both techniques had an effect on the subjects’ listening comprehension. The subjects to whom the pre-listening question technique was administered performed significantly better in responding to local questions. The subjects given the post-listening question technique, on the other hand, gained significantly higher scores on global questions. Regarding the subjects’ attitudes towards the techniques administered, the subjects were highly satisfied with the use of the pre-listening question technique whilst those given the post-listening question technique expressed a moderate preference. Therefore, it is recommended that further research be carried out using a single subject group exposed to both techniques. It is also suggested that classroom teachers use the two techniques in accordance with the question types.

Keywords: attitude, listening comprehension, pre-listening question technique, post-listening question technique

บทคัดย่อ
บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้กลวิธีตั้งคำถามก่อนฟังและการตั้ง คำถามหลังฟังที่มีต่อความเข้าใจในการฟัง และเพื่อศึกษาเจตคติของนักศึกษาที่มีต่อกลวิธีทั้งสองกลุ่มตัวอย่างเป็น นักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จำนวน 58 คนโดยแบ่ง เป็นกลุ่ม A จำนวน 29 คนได้รับกลวิธีตั้งคำถามก่อนฟังและกลุ่ม B จำนวน 29 คน ได้รับกลวิธีตั้งคำถามหลังฟัง เครื่องมือที่ใช้คือ แบบทดสอบวัดความสามารถทางการฟังและการตอบคำถามเกี่ยวกับเจตคติต่อกลวิธีที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ t-test พบว่า กลวิธีทั้งสองส่งผลต่อระดับความเข้าใจในการฟัง กล่าวคือ กลุ่มที่ใช้กลวิธีตั้ง คำถามก่อนฟังสามารถตอบคำถามชนิดจับความได้ดีกว่าอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนกลุ่มที่ใช้กลวิธีตั้งคำถามหลังฟัง สามารถตอบคำถามชนิดตีความได้ดีกว่า ในด้านเจตคติต่อกลวิธีที่ใช้ พบว่า กลุ่มที่ใช้กลวิธีตั้งคำถามก่อนฟังพึงพอใจ ในระดับสูงต่อกลวิธีนี้ ขณะที่กลุ่มที่ใช้กลวิธีตั้งคำถามหลังฟังมีความพึงพอใจในระดับกลาง ข้อเสนอแนะสำหรับ การทำวิจัยต่อไป คือ วัดการใช้กลวิธีทั้ง 2 แบบต่อความสามารถทางการฟังของบุคคลเดียวกัน และเสนอแนะให้ครู พิจารณาและเลือกใช้กลวิธีทั้ง 2 แบบให้เหมาะสมกับชนิดของคำถาม

คำสำคัญ: กลวิธีคำถามก่อนฟัง, กลวิธีคำถามหลังฟัง, ความเข้าใจในการฟัง, เจตคติ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548