Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 15, No. 5 (2009) open journal systems 


รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะบุคคลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
A Causal Relationship Model of Personal Competency Affecting Effectiveness of Educational Service Area Office in the Three Southern Border Provinces


เรชา ชูสุวรรณ, ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผ่องศรี วาณิชย์ศุภวงศ์, ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Recha Choosuwan, Department of Educational Administration, Prince of Songkla University
Phongsri Vanitsuppavong, Department of Educational Administration, Prince of Songkla University


Abstract
This study aimed to investigate the personal competency affecting the effectiveness of educational service area office in the three southern border provinces, and to construct a causal relationship model of personal competency. A sample of 563 educational personel in 6 service areas of Pattani Yala and Narathiwat were randomly investigated. Whereas, the factors of the study were consisted of 5 latent variables and 28 observed variables. The instruments used to study were included the educational service area office effectiveness measurement of personal competency form, and effectiveness measurement of educational service area office form. Data analysis using the path analysis approach was conducted to find the causal relationship of the variables due to path structure relationship model, a residual to appraise. The result indicated that effectiveness of educational service area office was the highest resulted from common competency. The director of educational service area office core competency had directly affected the highest common competency and indirectly affected the highest effectiveness of educational service area office, came from the common competency. Whereas, the educational personal core competency had directly affecting the highest educational personal specific competency, secondly to the common competency. The educational personal specific competency had directly affected the highest common competency; in contrary to the lowest effectiveness of the educational service area office.

Keywords: causal relationship, educational service area office, effectiveness, personal competency

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลของสมรรถนะบุคคล ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเพื่อสร้างรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะบุคคลที่ส่งผล ต่อประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการ ศึกษาภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส รวม 6 เขต จำนวน 563 คน ตัวแปรที่ ศึกษาประกอบดว้ ยตัวแปรแฝง 5 ตัวแปร ตัวแปรที่สังเกตได้ 28 ตัวแปร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมินสมรรถนะ ของบุคลากรทางการศึกษา และแบบวัดประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ การ วิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์เส้นทาง เพื่อหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ของตัวแปรตามรูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิง เส้น ชนิดมีความคลาดเคลื่อนในการวัด ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เกิดจากสมรรถนะ ร่วมกลุ่มงานสูงที่สุด สมรรถนะหลักของผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา มีอิทธิพลทางตรงต่อสมรรถนะร่วมกลุ่มงานสูงที่สุด และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสูงที่สุด โดยผ่าน ทางสมรรถนะร่วมกลุ่มงาน สมรรถนะ หลักของบุคลากรทางการศึกษา มีอิทธิพลทางตรงต่อสมรรถนะเฉพาะในงานของบุคลากรทางการศึกษาสูงที่สุด รองลงมา เป็นอิทธิพลทางตรงต่อสมรรถนะร่วมกลุ่มงาน สมรรถนะเฉพาะในงานของบุคลากรทางการศึกษา มีอิทธิพลทางตรงต่อ สมรรถนะร่วมกลุ่มงานสูง แต่มีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่ำที่สุด

คำสำคัญ:ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ, ประสิทธิผล, สมรรถนะบุคคล, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548