|
พยัญชนะทายเสียงกักฐานเพดานอ่อน ในพยางค์ตายสระเสียงยาวในภาษาถิ่นชุมพร The Final Velar Stop in Long-Vowel Dead-Syllables in Chumpon Dialect
|
จารึก จันทร์วงค์, ภาควิชาภาษาไทย,คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินท อาภาพรรณ วรรณโชติ, ภาควิชาภาษาไทย,คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินท นฤมล กาญจนทัต, ภาควิชาภาษาตะวันตก,คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Jaruek Janwong, Department of Thai, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince of Songkla Apapan Wannachot, Department of Thai, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince of Songkla Narumon Karnchanathat, Department of Western Languages, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prin |
Abstract
The purpose of this study was to examine whether the variation of the final velar stop phoneme in longvowel
dead syllables of Chumpon dialect correlated with the locality and the age of the speakers. The study
focused on two types of localities : rural speech communities and urban ones, and three age groups : youth, adults,
and the elderly. Forty-eight informants were selected for the study. The data collection was mainly based on
fieldwork carried out by the researcher. Thirty-two test words were used to elicit information concerning the
informants, free variations of the final velar stop phoneme in long-vowel dead syllables. The study showed that in
the pronunciation of the speakers of Chumpon dialect, the final velar stop phoneme in long-vowel dead syllables
had two allophones: the glottal stop [?] and the velar stop [k]. As a whole, while no significant correlation was
found between the speakers, locality and language variation, the age group was found to be significantly correlated
to the language variation. The study also revealed a correlation between the speakers, age and language
variation in the rural speech communities, but no such connection existed in the urban communities. Besides, a
change is going on in the conventional pronunciation of the final velar stop in long-vowel dead syllables of
Chumpon dialect, that is, the replacement of the glottal stop [?] with the velar stop [k], a tendency toward the
standard Thai pronunciation.
Keywords: Chumpon dialect, dialect , variation, velar stop in long-vowel dead-syllables
บทคัดย่อ
การศึกษาเรื่องพยัญชนะท้ายเสียงกัก ฐานเพดานอ่อน ในพยางค์ตายสระเสียงยาวในภาษาถิ่นชุมพรมี
จุดประสงค์เพื่อศึกษาการแปรของหน่วยเสียงนี้ว่ามีความสัมพันธ์กับตัวแปรถิ่นที่อยู่อาศัยและอายุหรือไม่โดยกำหนด
ศึกษาตัวแปรถิ่นที่อยู่อาศัย 2 ลักษณะชุมชน คือ ชุมชนชนบทและชุมชนเมือง และศึกษาตัวแปรอายุ 3 กลุ่มคือ
กลุ่มเด็ก กลุ่มผู้ใหญ่ และกลุ่มผู้สูงอายุ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมดมี 48 คน ผู้วิจัยดำเนินการเก็บข้อมูลภาคสนาม
โดยใช้คำทดสอบการออกเสียงพยัญชนะท้ายเสียงกักฐานเพดานอ่อน ในพยางค์ตายสระเสียงยาว จำนวน 32 คำ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้พูดภาษาถิ่นชุมพรออกเสียงหน่วยเสียงพยัญชนะท้ายเสียงกัก ฐานเพดานอ่อน ในพยางค์ตาย
สระเสียงยาวเป็นเสียงแปรอิสระ 2 เสียง คือ [?] และ [k] ถิ่นที่ อยู อาศัยไม่มีความสัมพันธ์อย่างมี นัยสำคั ญ
กับการแปรของภาษาดังกล่าว ส่วนอายุมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับการแปรของภาษาของประชากรกลุ่มตัวอย่าง
เมื่อจำแนกถิ่นที่อยู่อาศัย พบว่า ในชุมชนชนบทตัวแปรอายุมีความสัมพันธ์กับการแปรของเสียงพยัญชนะท้ายแต่ไม่มี
ในชุมชนเมือง การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าเสียงแปร [?] ในภาษาถิ่นชุมพรกำลังเปลี่ยนแปลงเพราะผู้พูด
ภาษาถิ่นชุมพรรุ่นใหม่เปลี่ยนมาใช้เสียงแปร [k] ตามแบบภาษาไทยมาตรฐานแทน
คำสำคัญ: การแปร, พยัญชนะท้ายเสียงกัก ฐานเพดานอ่อนในพยางค์ตายสระเสียงยาว, ภาษาถิ่น, ภาษาถิ่นชุมพร
|
|
|
|
| | | | | | | |
Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113 *บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา *All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.
© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand จำนวนผู้เยี่ยมชม
ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548
|
|