Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 15, No. 2 (2009) open journal systems 


ผลกระทบของการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมต่อสภาพแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ ในอำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
Environmental and Socio-economic Impacts of the Pacific White Shrimp (Litopenaeus vannamei) Culture in Palian District, Trang Province


ทรงสิน ธีระกุลพิศุทธิ์, ภาควิชาสารัตถศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
รพีพรรณ สุวรรณณัฐโชติ, ภาควิชาสารัตถศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชูศักดิ์ จรูญสวัสดิ์, ภาควิชาสารัตถศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Songsin Teerakunpisut, Department of Educational Foundation, Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla
Rapeepun Suwannatchote, Department of Educational Foundation, Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla
Choosak Charoonsawat, Department of Educational Foundation, Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla


Abstract
The objectives of this research were to investigate (1) the environmental and socio-economic impacts of the Pacific White Shrimp (Litopenaeus vannamei) culture and (2) the knowledge of natural resources and environmental conservation of the people in Palian District, Trang Province. The study revealed that the two sampled groups had somewhat different opinions towards the level of the environmental and socio-economic impacts of Pacific White Shrimp culture. The shrimp farmers believed that the impacts were moderate, while the respondents having other occupations believed that the impacts were high. Both groups of respondents agreed that discharging untreated wastewater, polluted by chemicals and antibiotics, directly into the canals and sea would deteriorate water quality. The shrimp farmers contended that shrimp farming brought about better socio-economic conditions. The respondents having other occupations were however not certain that was the case. Though the community has been substantially urbanized, the relationship among two groups of respondents are still rural-like: they are considerate, and are always concerned with helping each other. Both samples had moderate level of knowledge about natural resources and environmental conservation. They argued that all people, regardless of where they live—urban or rural areas—or their economic status— rich or poor—or their occupation, should make contribution towards natural resources and environmental conservation.

Keywords: environmental and socio-economic impacts, Pacific White Shrimp culture

บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาผลกระทบของการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมต่อสภาพแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ ตลอดจนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประชากรในพื้นที่ อำเภอ ปะเหลียน จังหวัดตรัง ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีความเห็นค่อนข้างต่างกัน ในระดับผลกระทบของ การเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมต่อสภาพแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมเห็นว่าการเลี้ยงกุ้งขาว แวนนาไมมีผลกระทบในระดับปานกลาง ในขณะที่ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพอื่นๆ เห็นว่า มีผลกระทบมาก กลุ่มตัวอย่าง ทั้งสองกลุ่มเห็นว่า การปล่อยน้ำทิ้งที่ปนเปื้อนสารเคมีและยาปฏิชีวนะต่างๆ จากบ่อเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมโดยไม่ผ่าน การบำบัดลงสู่ลำคลองจะทำให้คุณภาพน้ำในลำคลองและน้ำทะเลในหมู่บ้านเสื่อมโทรมลง เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งขาวแวน นาไมเห็นว่า อาชีพการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมจะทำให้ลักษณะสังคม และเศรษฐกิจเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ในขณะที่ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพอื่นๆ ไม่แน่ใจ แม้ว่าความเป็นอยู่จะเปลี่ยนแปลงจากสังคมพื้นบ้านเป็นสังคมเมือง มากขึ้น แต่กลุ่มตัวอย่างยังมีความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยกันและกัน และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน กลุ่มตัวอย่างทั้งสอง มีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มอยู่ในระดับปานกลาง และเห็นว่ามนุษย์ทุก คนไม่ว่าผู้นั้นจะอยู่ในเมืองหรือชนบท จะรวยหรือจนหรือมีอาชีพใดก็ตาม ควรมีส่วนช่วยในการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

คำสำคัญ: การเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม, ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม สังคม - เศรษฐกิจ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548