Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 15, No. 2 (2009) open journal systems 


“ลุงสอนหลาน” คำสอนพิสดารในวรรณกรรมภาคใต้
"Loong Sorn Larn," A Comprehensive Literacy Work of Southern Thailand Didactic


ประพนธ์ เรืองณรงค์

Praphon Ruangnarong


Abstract
The present study deals with Loong Sorn Larn, a comprehensive didactic literary work of southern Thailand. The purpose is to point out the differences of this work from other southern moralistic works or those of other regions. In Loong Sorn Larn, the moral lessons are ironically presented as images, in which there is an inconsistency between what is true and what we see. Reading the work without retrospection, one may be misguided by the unethical lessons in the writing, a style of writing known in southern dialect as ‘satirical teaching’. Loong Sorn Larn also reflects ways of living of people in southern community, particulary those in the area of Songkhla Lake, which are made evident in their beliefs, all kinds of temptations, values, characteristics, local wisdom, as well as the use of dialects and interesting writing style. More importantly, this didactic work celebrates an individual’s moral development, with emphasis on good deeds and an honest livelihood. In short, with the author’s creative presentation, Loong Sorn Larn is a remarkable didactic written work of southern Thailand that deserves extensive recognition.

Keywors: didatic literary of southern Thailand, rony, value, local wisdom

บทคัดย่อ
การศึกษาวรรณกรรมคำสอนเรื่อง “ลุงสอนหลาน” ซึ่งเป็นคำสอนพิสดารในวรรณกรรมภาคใต้มีวัตถุประสงค์เพื่อ แสดงให้เห็นความแตกต่างจากวรรณกรรมคำสอนทั่วไปไม่ว่าจะเป็นคำสอนภาคใต้ด้วยกัน หรือวรรณกรรมคำสอน ท้องถิ่นอื่น นั่นคือ คำสอนมีลักษณะเป็นการสร้างภาพพจน์ที่เรียกว่า การแฝงนัย (irony) ซึ่งมีเนื้อหาขัดกันระหว่าง ความจริงกับสิ่งที่ปรากฏให้เห็น คือถ้าอ่านวรรณกรรมเรื่องนี้แบบไม่มองมุมกลับจะเห็นว่าล้วนเป็นการสอนในสิ่งที่ไม่ ดี โดยเรียกแบบภาษาถิ่นใต้ว่า การสอนแบบทำแดก หรือการสอนแบบแดกดัน วัตถุประสงค์ถัดมาเพื่อต้องการชี้ ให้เห็นประเด็นต่าง ๆ ที่สะท้อนภาพวิถีชีวิตของผู้คนในสังคมภาคใต้ โดยเฉพาะชาวบ้านลุ่มทะเลสาบสงขลายุคนั้น (ประมาณช่วง ร.4 - ร.5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์) ไม่ว่าจะเป็นความเชื่อ อบายมุขด้านต่างๆ ค่านิยม ลักษณะนิสัยและ ภูมิปญั ญาชาวบ้าน รวมทั้งด้านการใชภ้ าษาถิ่นและลีลาการแต่งบางประการที่น่าสนใจ วรรณกรรมเรื่องนี้มีสารัตถะ ชี้ให้เห็นการสร้างสรรค์คนดีคือ ผู้ประพฤติดี มีคุณธรรมมรรยาทเรียบร้อย เว้นอบายมุข สนใจการศึกษา ประกอบอาชีพ สุจริต ภาษิตลุงสอนหลานเป็นวรรณกรรมคำสอนประเภทลายลักษณ์ของภาคใต้ที่ดีเด่นเป็นพิเศษ กวีมีความคิดสร้าง สรรค ์ควรนำมาเสนอให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายยิ่งขึ้น

คำสำคัญ: การแแฝงนัย, ค่านิยม, ภูมิปัญญาชาวบ้าน, วรรณกรรมคำสอนภาคใต้


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548