Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 15, No. 1 (2009) open journal systems 


Factors Affecting Adoption of Rubber Production Practices by Rubber Smallholders in Amphoe Hat Yai, Changwat Songkhla
ปัจจัยที่มีผลในการยอมรับวิธีการปฏิบัติในการผลิตยางพาราของเกษตรกรสวนยางขนาดเล็ก อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา


Apinya Ratanachai, Department of Agricultural Development, Faculty of Natural Resources, PSU
Jumnongruk Udomsade, Department of Agricultural Extension and Communication, Faculty of Agriculture,

อภิญญา รัตนไชย, ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ, ม.อ.
จำนงรักษ์ อุดมเศรษฐ์, ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร คณะเกษตร ม.เกษตรฯ


Abstract


The main objectives of the study were to 1) identify the characteristic factors of rubber smallholders in Amphoe Hat Yai, 2) determine the relationship between characteristic factors and rubber production practices, and 3) identify the problems confronted by the rubber smallholders and the suggestions for improving adoption of rubber practices in rubber production. The respondents in 128 households were selected from 7 Tumbons. Data were collected through an interview schedule, analyzed and presented for frequency, percentage, and arithmetic means. Chi-square test at 0.05 of significant level was used in data analysis.It was found that there existed relationship between land size and member in organization with the adoption of sheet-making practices by smallholders at 0.05significant level. There were significantly relationship between income and the adoption of tapping at 0.05 significant level and with the adoption of sheet-making practices at 0.01 level of significant. Suggestions from all rubber smallholders were concerned with the need for more information transmitted via various media regarding rubber production.

Keywords: adoption, rubber production, rubber smallholder บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษา 1) ลักษณะทั่วไปของเกษตรกรสวนยางขนาดเล็กในอำเภอหาดใหญ่ 2) ปัจจัยที่มีผลในการยอมรับวิธีการปฏิบัติในการผลิตยางพาราของเกษตรกร 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกร ในการยอมรับวิธีการปฏิบัติในการผลิตยางพารา โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 128 ครัวเรือนจาก 7 ตำบล เครื่องมือใน การเก็บข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับวิธีการปฏิบัติในการผลิตยางพาราของเกษตรกรสวนยางขนาดเล็ก ได้แก่ ขนาดของ พื้นที่ปลูกยางพาราและการเป็นสมาชิกกลุ่มมีผลต่อการยอมรับการทำยางแผ่นของเกษตรกร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ส่วนรายได้มีความสัมพันธ์กับการยอมรับในเรื่องการกรีดที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 และมี ความสัมพันธ์กับการยอมรับการทำยางแผ่นอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01 เกษตรกรมีข้อเสนอแนะที่สำคัญ คือ ให้มีการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับยางพาราผ่านสื่อต่าง ๆ ให้มากขึ้น

คำสำคัญ: การยอมรับ, การผลิตยางพารา, สวนยางขนาดเล็ก


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548