Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 14, No. 4 (2008) open journal systems 


การวิเคราะห์ประวัติศาสตร์เมืองปัตตานียุคการรวมประเทศจากเอกสารต่างชาติเรื่องปัตตานีกับการมาเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของไทย
An Analysis of the History of Pattani during the State Unification Era from the Foreign Text, “ Pattani and the Development of a Thai State”


ไข่มุก อุทยาวลี, ภาควิชาประวัติศาสตรและศิลปะ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินท

Kaimook Uttayawalee, Department of History and Art, Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince


Abstract
An investigation of Pattani history during the state Unification combination era is necessary in order to understand the basis of social, cultural and local politics development. This analysis is the local study together with the foreign text and the information about Thai history. The study includes three points: the attitude of England to the problem of Pattani during the ruling revolution; the policies of England concerning the trouble in Pattani ; and the confrontation between Thailand and England concerning the conflicting controversy. It reveals that the problems in Pattani are caused by the internal and external factors. The internal factor, it is the trouble of resisting the government power during the local ruling reformation in the city of Malaya. The external factor, the interference of England forced Thailand to donate the land called the city of Malaya which was related to Pattani to England- then this land was established to become the state of Malaya ruled by Malaysia, Kedah, Kelantan and Trengganu.

Keywords: Pattani, Pattani history, southern history

บทคัดย่อ
การศึ กษาประวั ติศาสตร์เมืองปัตตานีในยุคการรวมประเทศมีความสำคัญต่อการเข้าใจพื้ นฐานสภาพสังคม วัฒนธรรมและการเมืองท้องถิ่นภาคใต้การวิเคราะห์ประวัติศาสตร์เมืองปัตตานีเป็นการศึกษาเอกสารท้องถิ่นร่วมกับ เอกสารต่างชาติและข้อมูลประวัติศาสตร์ของไทย ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเด็นคือ ทัศนะของอังกฤษต่อปัญหาเมือง ปัตตานีสมัยปฏิรูปการปกครอง นโยบายของอังกฤษต่อปัญหาเมืองปัตตานี และการเผชิญหน้าระหว่างไทยและอังกฤษ ต่อปัญหาความขัดแย้ง จากการศึกษา พบว่า ปัญหาการปกครองเมืองปัตตานีเกิดจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ด้านปัจจัยภายในคือ ปัญหาการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นในหัวเมืองมลายูที่มีการต่อต้านอำนาจส่วนกลาง ด้านปัจจัย ภายนอกเกิดจากการแทรกแซงของมหาอำนาจโดยเฉพาะอังกฤษทำให้ไทยจำเป็นต้องยกดินแดนบางส่วนที่ผูกพันกับ เมืองปัตตานีซึ่งเดิมเรียกว่า หัวเมืองมลายูให้กับอังกฤษ และต่อมากลายเป็นรัฐมลายูในการปกครองของสหพันธรัฐ มาเลเซีย คือ ไทรบุรี กลันตัน และตรังกานู

คำสำคัญ: ประวัติศาสตร์ภาคใต้, ประวัติศาสตร์ปัตตานี, ปัตตานี


Full Text: PDF







Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548