Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 14, No. 4 (2008) open journal systems 


Regional Development in Southeast Asia: State-led or Market Driven?: Insights from Satun (Thailand) and Perlis (Malaysia)
การพัฒนาภูมิภาคในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : รัฐเป็นผู้ริเริ่มดำเนินการหรือเกิดจากการขับเคลื่อนทางการตลาดมุมมองจากการวิเคราะห์จังหวัดสตูล ประเทศไทยและรัฐเปอร์ลิสประเทศมาเลเซีย


Edo Andriesse, Faculty of Geosciences, Utrecht University


Abstract
The aim of this article is to present empirical results of a comparative analysis of economic policies and regional development in two regions in Southeast Asia. A comparison is made of the province of Satun in Southern Thailand and the state of Perlis in Northern (peninsular) Malaysia, two bordering and peripheral regions within their respective national space economies. Three questions are addressed: What is the interplay between markets and state intervention for economic development at the sub-national level?; To what extent have states designed and implemented regional development plans and what have been the outcomes?; And to what extent have market conditions determined regional economic development? Overall, this article claims that a crucial threat for reducing regional inequalities in Thailand is the unstructured and instable role of side payments. Side payments including regional development policies are relatively dependent on informal characteristics, in particular party politics and personal networks. This seems to delay development in peripheral and rural regions. Problematic for reducing regional inequalities in Malaysia is the extreme duality within the economy. The export-oriented economy operates relatively well, but the domestic–oriented economy is sometimes supported by ineffective and expensive investments initiated by the public sector. It would be better to align public investments somewhat more with the competitive advantages of Malaysian’s lagging regions instead of focusing heavily on inter-racial equality.

Keywords: economic geography, embedded mercantilism, informal access, Malaysia, side payments, Thailand

บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการศึกษาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบนโยบายเศรษฐกิจและการพัฒนา ภูมิภาคของสองภูมิภาคในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ จังหวัดสตูล ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของไทย และรัฐเปอร์ลิส ซึ่งอยู่บนคาบสมุทรตอนเหนือของมาเลเซีย ภูมิภาคสองแห่งนี้อยู่ติดชายแดนและอยู่บริเวณรอบนอกพื้นที่เศรษฐกิจของ ประเทศ ประเด็นที่ศึกษามี 3 ประเด็น คือ หนึ่ง บทบาทของตลาดและการแทรกแซงของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจ ในระดับภูมิภาค สอง บทบาทของรัฐในการวางแผนและการดำเนินการการพัฒนาภูมิภาค และผลการดำเนินงาน สามเงื่อนไขทางการตลาดกับการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาค จากการศึกษาวิเคราะห์ในภาพรวมพบว่า ภาวะคุกคามต่อ การแก้ปัญหาความไม่เท่าเทียมในภูมิภาคของประเทศไทยคือ การชดเชยหรือทดแทนที่ไม่ได้กำหนดรูปแบบที่แน่นอน และตายตัว การชดเชยหรือทดแทน รวมถึงนโยบายพัฒนาภูมิภาคในประเทศไทยจะมีลักษณะที่ไม่มีระเบียบแบบแผน ชัดเจน และมักขึ้นอยู่กับการเมืองระบบพรรคและเครือข่ายส่วนบุคคล สิ่งเหล่านี้ มีผลทำให้การพัฒนาในภูมิภาค รอบนอกของไทยเป็นไปอย่างล่าช้า สำหรับประเทศมาเลเซีย การทำเศรษฐกิจแบบควบคู่กลับเป็นอุปสรรคสำคัญใน การแก้ปัญหาความไม่เสมอภาคในภูมิภาคของประเทศ ในขณะที่เศรษฐกิจที่มุ่งเน้นการส่งออกค่อนข้างไปได้ดี แต่การ ลงทุนในเศรษฐกิจภายในประเทศที่ริเริ่มโดยภาครัฐยังไม่มีประสิทธิภาพและสิ้นเปลือง การที่รัฐสนับสนุนหรือกระตุ้นการ ลงทุนในภูมิภาคของประเทศที่มีข้อได้เปรียบ ในการแข้งขันแต่ยังขาดการพัฒนาอย่างจริงจังน่าจะให้ผลดีมากกว่าการ มุ่งเน้นความเท่าเทียมกันระหว่างเชื้อชาติ

คำสำคัญ: การค้าขาย, การชดเชยหรือทดแทน, ประเทศไทย, ประเทศมาเลเซีย, ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ


Full Text: PDF







Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548