Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 14, No. 1 (2008) open journal systems 


ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ: ประสบการณ์พึ่งพิงสู่การพึ่งพาตนเอง
Library Automation System: From Dependence to Self Reliance


สายพิณ วิไลรัตน์, ฝ่ายหอสมุดคุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

Saipin Vilairatana, Lady Atthakraweesunthorn Library, Prince of Songkla University, Hat Yai Campus


Abstract
An automated library system is a very crucial information system for today’s libraries as it increases efficiency in library work and facilitates library service. Most academic libraries in Thailand have to rely on overseas library automation systems, despite the high costs, because of their standard and convenience. Prince of Songkla University (PSU), which has five campuses, therefore, seeks to develop its own library automation system to reduce dependence upon overseas products. This article gives an account of the author’s involvement and experiences in the system development. It explains how the PSU library system has evolved from a manual system to the current system, ALIST--Automated Library System for Thai Higher Education Institutes. The concept of selt-reliance, strategies used to overcome obstacles, and key success factors in developing ALIST are also highlighted.

Keywords: Automated Library System for Thai Higher Education Institute (ALIST), Lady Atthakraweesunthorn library, library automation system, library innovation in Thailand, Prince of Songkla university library

บทคัดย่อ
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเป็นระบบสารสนเทศที่สำคัญสำหรับห้องสมุดในยุคปัจจุบัน เนื่องจากเป็นระบบที่ช่วยให้กระบวนการของผู้ปฏิบัติงานในห้องสมุดมีประสิทธิภาพและอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้บริการ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยส่วนใหญ่ใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำเร็จจากต่างประเทศซึ่งเป็นระบบที่มีมาตรฐานและใช้งานสะดวกในการดำเนินงานแม้ว่าจะมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งมีวิทยาเขต 5 แห่ง และมีห้องสมุดอยู่ในทุกวิทยาเขตจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติขึ้นใช้เอง เพื่อลดการพึ่งพาจากต่างประเทศ บทความนี้เป็นการเล่าประสบการณ์ของผู้เขียนในฐานะที่เป็นผู้เกี่ยวข้องและมี ส่วนร่วมในการพัฒนาระบบตั้งแต่การทำงานด้วยมือสู่การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ จนมาเป็นระบบห้องสมุด อัตโนมัติสำหรับสถาบันอุดมศึกษาไทย รวมถึงการก้าวข้ามอุปสรรคและปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาระบบ

คำสำคัญ: นวัตกรรมห้องสมุดในประเทศไทย, ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ, ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับสถาบันอุดมศึกษาไทย, หอสมุดคุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร, ห้องสมุดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548