Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 13, No. 4 (2007) open journal systems 


การพัฒนาการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเพื่อศึกษาแนวคิดและวิธีการสอนธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของครูประถมศึกษาช่วงชั้นที่หนึ่ง
Development of Semi-structured Interviews for Studying Lower Primary Teachers’ Conceptions and Instruction of the Nature of Science


เทพกัญญา พรหมขัติแก้ว, โครงการผลิตนักวิจัยพัฒนาด้านการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศา
สุนันท์ สังข์อ่อง, ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สมาน แก้วไวยุทธ, ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Tepkanya Promkatkeaw, Department of Education, Faculty of Education,Kasetsart University
Sunan Sungong, Department of Zoology, Faculty of Science, Kasetsart University
Samarn Kaewviyudth, Department of Zoology, Faculty of Science, Kasetsart University


Abstract
Teachers who have right understanding of the nature of science and its teaching approaches would teach science more effectively and enhance students’ scientific literacy. This research is a study of using semi-structured interviews to assess in-service lower primary teachers’ conceptions of the nature of science and their understanding of the instruction for the nature of science. From the study, it was found that teachers’ conception of development of scientific knowledge and conceptions of relationship between science, technology, and society seemed to correlate with teachers’ understanding of teaching approaches for the nature of science. The results suggested that interview question items and procedure must be improved and other kinds of research instruments should be developed in order to collect more valid and appropriate data for further development of a professional development program for primary teachers’ instruction of the nature of science.

Keywords : nature of Science, primary teachers, science instruction, semi-structured interviews

บทคัดย่อ
การที่ครูมีแนวคิดที่ถูกต้องต่อธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และมีความเข้าใจในกระบวนการสอนที่ สอดคล้องกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสอนวิทยาศาสตร์และส่งเสริมให้นักเรียนมีความ เป็นผู้รู้วิทยาศาสตร์ การวิจัยนี้เป็นการศึกษาการใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ในการวัดแนวคิดธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์และความเข้าใจต่อการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของครูประจำการระดับ ประถมศึกษาช่วงชั้นที่ 1 จากการศึกษาพบว่าแนวคิดของครูด้านการพัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และแนวคิด ด้านความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม อาจเกี่ยวข้องกับความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอน ที่สอดคล้องกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ จากผลการวิจัยได้ข้อเสนอแนะว่าต้องมีการปรับปรุงข้อคำถามและวิธีการ สัมภาษณ์และมีการพัฒนาเครื่องมือการวิจัยประเภทอื่นอีกในการเก็บข้อมูลเพิ่มเติม จึงจะได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง เพียงพอในการสร้างหลักสูตรการพัฒนาครูประจำการระดับประถมศึกษาตอนต้น ในการสอนเกี่ยวกับธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์ต่อไป

คำสำคัญ : การสอนวิทยาศาสตร์, การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง, ครูประถมศึกษา, ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548