Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 13, No. 1 (2007) open journal systems 


ดนตรีจีน: กรณีศึกษาวงมูลนิธิท่งเซียเซี่ยงตึ้ง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Chinese Music: A Case Study of Thong Sia Sieng Terng Foundation Ensemble, Hat Yai District, Songkhla Province.


คมสันต์ วงค์วรรณ์
Komson Wongwan, ภาควิชาสารัตถศึกษา คณะศิลปศาสตร์


Abstract
The objective of this research was to study the history, the styles of music and how each type of instruments played of Thong Sia Sieng Terng Foundation Ensemble, Hat Yai District, Songkhla Province. Data was collected by informal in - depth interview and participant observation. The result of the study revealed that Thong Sia Sieng Terng Foundation Ensemble, Hat Yai District, Songkhla Province was old ensemble that was founded at the same time as the foundation itself in 1956 by Mr.Boonhuan Saesow (Yongkiatphaiboon). Most of the musicians had at least 10 years of experience and were skillful in playing almost all types of musical instruments, they could substitute for each other. The styles of music played by this ensemble was not totally original but rather adapted and blended with modern music. This could be identified through the time signature 44 24 and 14 The instruments used by the Thong Sia Sieng Terng Foundation Ensemble were bamboo flute (Huay Teck), fiddle, zither (Iew Khim) and drum. Each instrument was played with special techniques, for the flute or Huay Teck, the inner skin of the bamboo was finely creased and special cream was used to make the inner skin of the bamboo stay intact to the flute. For the fiddle, the bow was moved using a shoulder to swing it back and forth because the shoulder can transmit a little force to the right elbow. And for the zither or Iew Khim, it was played alternating between high and low octaves that was a traditional way of playing this instrument.

Keywords: chinese music, form, history, performance, Thony Sia Sieng Terny Foundation Ensemble

บทคัดย่อ
รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกอย่างไม่เป็นทางการและการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม ผลการวิจัยพบว่า วงมูลนิธิท่งเซียเซี่ยงตึ้ง เป็นวงดนตรีจีนที่เก่าแก่ที่มีกำเนิดและตั้งมาพร้อมกับมูลนิธิตั้งแต่ปี พ.ศ. 2499 โดยนายบุญฮ้วน แซ่โซว (ยงเกียรติไพบูลย์) เป็นผู้ริเริ่ม นักดนตรีส่วนใหญ่ มีประสบการณ์อย่างน้อย 10 ปี มีทักษะการเล่นเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด และสามารถเล่นแทนกันได้ รูปแบบของเพลงที่ใช้ในการบรรเลงทางวงไม่ได้ยึดหลักความเป็นดั้งเดิมมากเท่าใดนัก แต่มีการปรับเปลี่ยนผสมผสานโดยการนำเอาเพลงสมัยนิยมเข้ามาบรรเลงด้วย โดยปกติสามารถระบุได้ด้วยเครื่องหมายกำหนดจังหวะ 44 24 และ 14 วิธีการบรรเลงเครื่องดนตรีของวงมูลนิธิท่งเซียเซี่ยงตึ้ง ประกอบด้วยขลุ่ย (ห่วยเต๊ก) ซอ ขิม (เอี่ยวคิ้ม) และกลอง มีเทคนิคต่างๆ เฉพาะตัว เช่น ขลุ่ย (ห่วยเต๊ก) มีการปรับแต่งเยื่อไผ่ที่ต้องจัดให้เยื่อเกิดรอยจีบย่นที่ละเอียดสม่ำเสมอและใช่ครีมพิเศษทาเพื่อให้เยื่อติดกับตัวขลุ่ย ซอมีการใช้คันชักที่ใช้หัวไหล่เป็นจุดหมุนเพราะสามารถส่งแรงไปยังบริเวณใต้ข้อศอกขวาเล็กน้อย ขิม (เอี่ยวคิ้ม) มีวิธีการตีเป็นทำนอง สลับกับเสียงต่ำคู่แปดซึ่งถือว่าเป็นธรรมเนียมปฏิบัติสำหรับเครื่องดนตรีชนิดนี้สืบทอดกันมา

คำสำคัญ: การบรรเลงเครื่องดนตรี, ดนตรีจีน, ประวัติ, รูปแบบ, วงมูลนิธิท่งเซียเซี่ยงตึ้ง


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548