Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 4, No. 2 (1998) open journal systems 


Srivijaya and Southern Thailand : Some Questions

Stuart Robson, Department of Asian Languages and Studies, Monash University, Melbourne


Abstract
Srivijaya is often linked with the history of southern Thailand. A review of the evidence, however, suggests that over time a number of shifts may have taken place. It is clear that Srivijaya began as a Malay kingdom in southern Sumatra in the second half of the 7th century. After that, the name reappears once, in A.D. 775, in a different region, namely southern Thailand. At a time when this region had evident contacts with Java and northeast India. The significance of this is still unclear, but for a certain time part of southern Thailand may have been central to Srivijaya. However, by the late 10th and early 11th century. Suvarnadvipa (Sumatra) and Srivijaya are again associated. The name Srivijaya should only be linked with southern Thai history in a limited sense. Accepting the absence of other convenient labels, in the meantime it is better to focus on a description and interpretation of the objects and monuments themselves. Rather than being used to promote nationalist agendas in the field of history, Srivijaya should be viewed in its wider Southeast Asian context. Keywords : Srivijaya, southern Thailand อาณาจักรศรีวิชัยมักถูกนำไปผูกโยงกับประวัติศาสตร์ภาคใต้ของประเทศไทย การทบทวนตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชี้ให้เห็นว่าในอดีตน่าจะมีการโยกย้ายศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรหลายครั้งด้วยกัน หลักฐานบ่งชัดว่าในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 7 ศรีวิชัยเป็นอาณาจักรมลายู ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของสุมาตรา ‘ศรีวิชัย’ ปรากฏนามขึ้นใหม่อีกครั้งใน ค.ศ.775 ในดินแดนที่เป็นภาคใต้ของประเทศไทย ในช่วงเวลาดังกล่าว ดินแดนแถบนี้มีการติดต่อกับชวาและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย นัยสำคัญประเด็นนี้ยังคลุมเครือ แต่เป็นไปได้ว่าในช่วงระยะเวลาหนึ่ง อาณาบริเวณส่วนหนึ่งของภาคใต้ของประเทศไทยเคยเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีวิชัย อย่างไรก็ตามประมาณปลายศตวรรษที่ 10 และต้นศตวรรษที่ 11 สุวรรณทวีป (สุมาตรา) และศรีวิชัยก็กลับมามีความสัมพันธ์กันอีกครั้งหนึ่ง การเชื่อมโยงคำว่า ‘ศรีวิชัย’ กับประวัติศาสตร์ภาคใต้ของประเทศไทยอาจทำได้ ในขณะที่ยังไม่มีชื่ออื่นที่เหมาะสมไปกว่านี้ แต่ก็ควรใช้ในความหมายที่จำกัด การค้นคว้าเรื่อง ‘ศรีวิจัย’ ควรมุ่งประเด็นไปที่การพรรณนาและตีความตัววัตถุและโบราณสถานมากกว่า ทั้งนี้เราควรพิจารณาศึกษา ‘ศรีวิชัย’ ในบริบทของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แทนที่จะใช้ชื่อ ‘ศรีวิชัย’ เพียงเพื่อส่งเสริมแนวคิดเรื่องชาตินิยมในวงการประวัติศาสตร์ คำสำคัญ : ศรีวิชัย, ภาคใต้ของประเทศไทย


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed article
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548