Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 21, No. 2 (2015) open journal systems 


กำเนิด“เรื่องอ่านเล่นร้อยแก้วสมัยใหม่”: ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบและบริบททางความคิด
Origin of Thai Modern Fiction: On Relation of Intellectual Context to Form of Fiction


สมิทธ์ ถนอมศาสนะ, ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Samiddhi Thanomsasana, Department of History, Faculty of Arts, Chulalongkorn University


Abstract
Since 1920's, “Ruang ann len” or “modern fiction” became popular amongst Thai middle class above other forms of popular fictions, such as Chinese romance and Thai popular folktales (Ruang Chak Chak Wong Wong). This change of taste took place simultaneously with the change of mentality of emerging Thai urban middle class of modern age. I propose that the form of "Ruang ann len" complies with the logic of capitalism that constantly demands “novelty,” in both spheres of production and consumption. Additionally, the concept of “utility” that goes hand in hand with capitalism also induces a change of attitude towards “Ruang ann len”. Under such utilitarian criteria, good “Ruang ann len” is the ones that should provide some moral lessons or good models of behaviour for their readers, hence, it could be said that writers of that decade presented their numerous thoughts relating to modernity, as well as criticism towards traditional and modern society altogether-by means of literary space and medium.

Keywords: modernity, Thai middle class, Thai modern fiction

บทคัดย่อ
“เรื่องอ่านเล่น” เป็นบันเทิงคดีรูปแบบใหม่ที่ เริ่มเป็นที่นิยมของชนชั้นกลางสยามตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 2460 เป็นต้นมา เหนือกว่าบันเทิงคดีในรูปแบบอื่นๆ เช่น นิทานจักรๆ วงศ์ๆ หรือพงศาวดารจีน ปรากฏการณ์ ดังกล่าวเกิดขึ้นโดยสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงทาง ความคิดของสังคมไทยในช่วงยุคสมัยใหม่ ในที่ นี้ขอเสนอว่า รูปแบบของเรื่องอ่านเล่นนั้นสอดคล้อง กับตรรกะของระบบทุนนิยมที่เรียกร้องความแปลกใหม่ อยู่เสมอ ทั้งในปริมณฑลของการผลิตและการบริโภค นอกจากนี้ ฐานคิดเรื่อง “ประโยชน์นิยม” ที่มาพร้อมกับ ระบบทุนนิยมนั้น ยังมีผลต่อทัศนคติในการสร้างงานเขียน ที่มองว่างานเขียนที่ดี คืองานเขียนที่มีประโยชน์ใน การให้คติหรือให้ตัวแบบของการกระท􀄢ำแก่ผู้อ่าน ด้วยวิธีคิดดังกล่าว ท􀄢ำให้นักเขียนในยุคนั้น ได้น􀄢ำเสนอมโนทัศน์ต่างๆ ของยุคสมัยใหม่ผ่านงานเขียน รวมถึงวิพากษ์ทั้งสังคมจารีตและสังคมสมัยใหม่ไป พร้อมๆ กันด้วย

คำสำคัญ: ความเป็นสมัยใหม่, ชนชั้นกลาง, เรื่อง อ่านเล่น


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548