Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 21, No. 2 (2015) open journal systems 


Civil Society and the Political Change in Indonesia: From Authoritarian to Democracy
ประชาสังคมกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในอินโดนีเซีย: จากอำนาจนิยมสู่ประชาธิปไตย


Muhammad Saleh Tajuddin, Philosophy and Political Sciences State Islamic University (UIN) Alauddin Makass


Abstract
One of the most important aspects of the Reformation Era is the rise of civil society movements. Increasing attention to the idea of civil society in Indonesia emerged as a reaction to the political discourse the New Order Era. Anderson argues that the New Order is well understood as the reaction of the state and its triumph vis-a -vis society and nation. One of the major characteristics of the New Order Era was the dominance of the state over society. A common wisdom among most Indonesians is that political life in Indonesia is strongly dominated by the state. Based on the structural theory of Gramsci that representing the supra-structure paradigm based on the concept of hegemony, and it is suitable with the situation in Indonesia during the New Order Era. This writing is qualitative research and using library research. The sources are books and journals on similar research topics, and conference papers. The study analyses the historical and sociological aspects of civil society and political change in Indonesia. In fact, the change was caused by the emergence of civil society movement in Indonesia. The movement were caused several factors, such as the authoritarianism of the New Order Era, corruption, the Armed forces of Indonesia.

Keywords: authoritarianism, civil society, corruption, democracy, new order, Reformation Era.

บทคัดย่อ
รูปการสำคัญที่สุดประการหนึ่งของยุคการปฏิรูป คือการเติบโตของขบวนการประชาสังคม ความสนใจ ที่เพิ่มทวีขึ้นของความคิดเกี่ยวกับประชาสังคมใน อินโดนีเซีย ก่อตัวขึ้นจากการตอบสนองต่อวาทกรรม ทางการเมืองในยุคระเบียบใหม่ ดังที่ แอนเดอร์สันเสนอ ว่าระเบียบใหม่ถูกรับรู้ว่าเป็นการตอบสนองของรัฐ และ ชัยชนะของรัฐต่อสังคมและชาติ คุณลักษณะของ ยุคระเบียบใหม่ ก็คือการที่รัฐครอบง􀄢ำสังคม ความเข้าใจ ร่วมกันของชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่ ก็คือชีวิตทางการเมือง ในอินโดนีเซียถูกครอบง􀄢ำไว้โดยรัฐ ด้วยมุมมองของ ทฤษฎีโครงสร้างของกรัมชี ซึ่งน􀄢ำเสนอกระบวนทัศน์ เรื่องโครงสร้างส่วนบนในแนวคิดว่าด้วยอ􀄢ำนาจน􀄢ำถือได้ว่าเหมาะสมกับสถานการณ์ของอินโดนีเซียใน ยุคระเบียบใหม่ บทความนี้ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพและค้นคว้าเอกสาร ได้แก่ หนังสือและวารสาร ที่มีรายชื่อ เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ศึกษา ตลอดจนเอกสารประกอบ การสัมมนาต่างๆ โดยเน้นศึกษาวิเคราะห์ในส่วนของ ประวัติศาสตร์และสังคมวิทยาของขบวนการประชาสังคม กับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในอินโดนีเซีย ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นผลสืบเนื่องมาจาก การเกิดขึ้นของประชาสังคมในอินโดนีเซีย โดย ขบวนการดังกล่าวเป็นผลสืบเนื่องจากหลายปัจจัย เช่น ลัทธิอ􀄢ำนาจนิยมของยุคระเบียบใหม่ การฉ้อราษฎร์ บังหลวง และก􀄢ำลังทหารของอินโดนีเซีย

คำสำคัญ : การฉ้อราษฎร์บังหลวง, ประชาธิปไตย, ประชาสังคม, ระเบียบใหม่, ลัทธิอ􀄢ำนาจนิยม, ยุคการปฏิรูป


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548