Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 21, No. 2 (2015) open journal systems 


พัฒนาการและสถานการณ์การจัดการศึกษาภาษาเพื่อนบ้านในฐานะส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษาในประเทศไทย: กรณีศึกษาการสอนภาษามลายูและอินโดนีเซียในระดับอุดมศึกษา
Development and Current Situation of Bahasa Melayu and Indonesian Language Education in Thailand: With Special Reference to Higher Education


ธนภาษ เดชพาวุฒิกุล, สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

Thanapas Dejpawuttikul, School of Liberal Arts , Walailak University


Abstract
Bahasa Melayu and Indonesian language education was introduced in Thailand in the course of a modernization of the education system after World War II. In the eyes of Siamese elites the interest in and significance of both languages was relatively limited compared to other indigenous and religious languages in the Southeast Asian region such as Bali, Khmer, Burmese, or western languages. Although there was an attempt to learn and understand these languages, it was limited to bureaucratic officers learning the languages for the sake of centralization, but the situation deteriorated under Pibun government’s nationalist policy (1938- 1944). However, in order to secure the most southern provinces of Thailand from secessionist movements, the Thai government started to teach Bahasa Melayu since the beginning of the cold war in 1960s via university in Bangkok. The hereafter happening changes of the political and cultural landscape, particularly the founding of the ASEAN economic community which sparked the growth of interest in the field of area studies in Thai academics. In the course of these developments Bahasa Melayu and Indonesian language education have grown in popularity not only in universities and high schools, but also in provincials with support and funds of the Thai bureaucratic organs. Furthermore the teaching of Bahasa Melayu and Indonesian in Eastern languages faculties and area studies programs also revealed outstanding desires and problematics of various stakeholders involved in this trend.

Keywords: Bahasa Melayu-indonesia education, Higher Education, Southeast Asian Studies

บทคัดย่อ
การสอนภาษามลายูและอินโดนีเซียในฐานะส่วนหนึ่ง ของระบบการศึกษาสมัยใหม่ในประเทศไทยมีความเป็น มาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ก่อนช่วงเวลานี้แม้รัฐไทย หรือในชื่อเดิมคือสยามจะให้ความสนใจต่อความรู้เกี่ยว กับภาษาและวัฒนธรรมของผู้ใช้ภาษาเหล่านี้อยู่บ้าง หากแต่ก็มีขอบเขตจำกัดอยู่แวดวงนักปราชญ์ และ มีสถานะเป็นรองภาษาสำคัญอื่นๆ ที่เป็นเครื่องมือ ในการแสวงหาความรู้ทางศาสนา เช่นภาษาบาลี ภาษา เขมร หรือในเวลาต่อมาคือความรู้สมัยใหม่คือภาษา ตะวันตก โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ แม้ในช่วงที่ชนชั้น ปกครองไทยมีความพยายามเข้าไปจัดการควบคุมดิน แดนและผู้คนที่มีความแตกต่างทางชาติพันธุ์ ภาษา และศาสนา การสอนภาษาอื่นๆ นอกเหนือภาษา อังกฤษยังคงมีขอบเขตจำกัดเฉพาะในกลุ่มข้าราชการ และเจ้าหน้าที่จากส่วนกลางที่ถูกส่งไปท􀄢ำหน้าที่ด้าน การปกครอง ทั้งนี้ นับตั้งแต่ช่วงสงครามเย็น ปัจจัย ด้านการเมืองได้กลายเป็นตัวก􀄢ำหนดส􀄢ำคัญต่อการที่ รั ฐเริ่ มให้ความส􀄢ำคัญต่อการจัดการสอนภาษาในระยะ เริ่มต้น ปัจจุบันการเติบโตของการสอนภาษามลายู และอินโดนีเซียในสังคมไทยเป็นผลมาจากปัจจัย หลายประการที่มีความแตกต่างกันในแง่ของ จุดมุ่งหมายทางการเมือง วัฒนธรรม บริบทการพัฒนา วิชาการในระดับอุดมศึกษา ตลอดจนกลุ่มคนที่เข้ามา มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนากระบวนการเรียน การสอน อย่างไรก็ตาม ภายใต้ความทะเยอทะยานของ รั ฐและการอุดมศึกษาไทยที่จะช่วงชิงความได้เปรียบใน สถานการณ์การเพิ่มระดับความเป็นภูมิภาคและ การเชื่อมต่อทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม การจัดการเรียน การสอนภาษาทั้งสองได้ก้าวเข้าสู่สถานการณ์ใหม่ของ เป็นส่วนหนึ่งของความรู้ด้านเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ศึกษา ทั้งนี้ กรณีศึกษาการจัดการเรียนการสอนภาษา ทั้งสองในพื้นที่ภาคใต้ได้สะท้อนให้เห็นถึงความน่า สนใจบางประการ

คำสำคัญ: การศึกษาภาษามาลายูและอินโดนีเชีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา, อุดมศึกษา


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548