Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 21, No. 2 (2015) open journal systems 


แนวทางการปฏิบัติที่ดีของการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ภายใต้แนวคิดของความยั่งยืน
Sustainable Principle: “Good Practices for Homestay Tourism in Thailand”


ดวงธิดา พัฒโน, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
เกิดศิริ เจริญวิศาล, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Duangtida Pattano, Hatyai Business School, Hatyai University
Kaedsiri Jareonwisan, Faculty of Management Sciences, Prince of Songkla University


Abstract
While focusing on economic expansion, the Thai government has promoted tourism activities as a catalyst for economic growth and income generation throughout the country. Significantly, many local communities in Thailand have tried to attract more tourists into their regions to boost the quality of local people’s lives. Homestay tourism has been evidently introduced into numerous localities. Nevertheless, lack of understanding of the actual concept of homestay tourism, based on the principle of sustainability, can lead to contrary impact on local communities and tourists alike. Good practices are greatly needed for local communities to conduct homestay tourism effectively. This study collates appropriate approaches by which homestay tourism should be planned utilizing further theories of sustainable development. The author summarizes five potential approaches for successful planning of homestay under the concept of sustainability: 1) Encouraging local community participation, acceptance and building leadership 2) Creating relationships between host and stakeholders into a collaborative process 3) Managing and developing the area compatible with local ecologies 4) Promoting and maintaining local culture and traditions, and 5) Capability in supporting tourism. Additionally, major case studies of homestay tourism in Thailand are highlighted.

Keywords: community, homestay tourism, sustainable principles

บทคัดย่อ
ในขณะที่รัฐบาลไทยให้ความสำคัญกับการขยาย ตัวทางเศรษฐกิจนั้น พบว่ากิจกรรมการท่องเที่ยวนับ เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ได้รับการผลักดันเพื่อเป็นตัวเร่งให้ เกิดการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและการกระจายราย ได้ภายในประเทศ จากการที่หลายชุมชนในพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศมีความพยายามดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มา ท่องเที่ยวในท้องถิ่นของตนเองมากขึ้น เพราะเขาเชื่อ ว่ากิจกรรมการท่องเที่ยวสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ของคนในชุมชนให้ดีขึ้นได้ การท่องเที่ยวแบบโฮม สเตย์ในชุมชนจึงกลายเป็นหนึ่งกิจกรรมของรูปแบบ การท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม หากเราขาดความเข้าใจที่ ถู กต้ องเกี่ ยวกั บการท่ องเที่ ยว แบบโฮมสเตย์อย่างยั่งยืนแล้ว อาจนำไปสู่ผลกระทบ ทางลบต่อชุมชนและนักท่องเที่ยวได้ในที่สุด ดังนั้น จึงเป็นความจ􀄢ำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรให้ ความสำคัญกับแนวทางการปฏิบัติที่ดีของการท่องเที่ยว แบบโฮมสเตย์เพื่อชุมชนสามารถน􀄢ำไปเป็นแบบอย่าง ในการปฏิบัติอย่างเหมาะสมต่อไปได้ บทความนี้รวบรวม 5 แนวทางในการวางแผนการจัดการ การท่องเที่ยวแบบ โฮมสเตย์ภายใต้แนวคิดของความยั่งยืน ดังนี้ 1) การกระตุ้นการมีส่วนร่วมของชุมชน การสร้าง การยอมรับ และการสร้างภาวะผู้นำภายในชุมชน 2) การสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเจ้าบ้านและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียผ่านกระบวนการความร่วมมือต่างๆ 3) การจัดการและพัฒนาพื้นที่ให้เหมาะสมกับ ระบบนิเวศชุมชน 4) การเผยแพร่และทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น 5) ความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยว และ นอกจากนี้ บทความนี้ยังได้นำเสนอกรณีศึกษา การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ในประเทศไทยไว้ด้วย

คำสำคัญ การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์, ความยั่งยืน, ชุมชน


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548