Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 21, No. 1 (2015) open journal systems 


ปัจจัยกำหนดระดับวุฒิวัยของผู้สูงอายุไทย
The Determinants of Thai Active Ageing Level


สุภจักษ์ แสงประจักษ์สกุล, วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Subhachak Saengprachaksakula, College of Population Studies, Chulalongkorn University


Abstract
This research was aimed at determining level of Thai active ageing in 2011 using the World Health Organization policy framework of active ageing which consisted of three components: health, participation and security; and finding out the determinants of Thai active ageing level in 2011. Data used were the 2011 Survey of The Older Persons in Thailand which conducted by the National Statistic Office and selected only the elderly aged 60 years and over. The sample size was 23,884 persons. The results showed that Thai active ageing level was medium. When controlled for other factors, multiple Ordered-Probit Model Regression revealed that the most statistically significant determinants of Thai active ageing level were age, residence area, education, marital status, income, working, health check up, ministered care and exercise.

Keywords: active ageing, health, Ordered-Probit Model, participation, security

บทคัดย่อ
บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับวุฒิวัยของผู้สูงอายุไทยในปี พ.ศ.2554 ตามกรอบแนวคิดเชิงนโยบาย (Policy Framework) ขององค์การอนามัยโลก ซึ่งประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการมีสุขภาพดี ด้านการมีส่วนร่วมทางสังคม และด้านการมีหลักประกันที่มั่นคง และเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยก􀃎ำหนดที่มีอิทธิพลต่อระดับวุฒิวัยของผู้สูงอายุไทยในปี พ.ศ.2554 โดยใช้ข้อมูลจากการส􀃎ำรวจผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.2554 ซึ่งด􀃎ำเนินการโดยส􀃎ำนักงานสถิติแห่งชาติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป มีทั้งสิ้น 23,884 คน ผลการวิจัย พบว่า ระดับวุฒิวัยของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อควบคุมปัจจัยอื่นๆ โดยการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุ ด้วยแบบจ􀃎ำลองโพรบิตตามล􀃎ำดับ พบว่า ปัจจัยก􀃎ำหนดระดับวุฒิวัยของผู้สูงอายุ อย่างมีนัยส􀃎ำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ เขตที่อยู่อาศัย ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส รายได้ต่อปี การท􀃎ำงาน การตรวจสุขภาพ การดูแลปรนนิบัติ และการออกก􀃎ำลังกาย

คำสำคัญ: การมีส่วนร่วม, การมีหลักประกันที่มั่นคง, แบบจ􀃎ำลองโพรบิตตามล􀃎ำดับ, วุฒิวัยของผู้สูงอายุ, สุขภาพ


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548