Home | Current | Archives | About | Login | Notification | Contact | Search
 Songklanakarin : E-Journal of Social Sciences & Humanities > Vol. 20, No. 3 (2014) open journal systems 


กระบวนการสร้างคุณค่าร่วมกัน: กระบวนทัศน์การตลาดใหม่ในยุคสังคมออนไลน์
Value Co-Creation: New Marketing Paradigm in the Era of Social Network


ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์, หน่วยวิจัยการบริโภคและเศรษฐกิจยั่งยืน, สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

Siwarit Pongsakornrungsilp, Consumption and Sustainable Economy Research Unit, School of Management, Walaila


Abstract
Current knowledge of the marketing has continuously development to respond changes in market environments and consumer behavior, especially in the era of the online social network where consumers have increasingly formed online communites. The marketers in international level have been aware of these changes and have developed strategies to respond to these circumstances. On the other hand, the marketers in Thailand still emphasize the traditional marketing paradigm that focuses on developing the marketing mix and tangible goods, and on making maximum profit. This paper provides a new paradigm that focuses on value co-creation process by offering a new perspective on the consumer value and the process of value co-creation in the era of online social networking. It is worth noting that marketers are not able to create consumer value, but consumers are the one who can co-create value from namely, Value-in-Use. Furthermore, value is not attached within a tangible product but it is co-created through the process of using goods or services to co-create the symbolic meaning of its customers. This article suggests that businesses have to adapt and apply social networking to create a competitive advantage and co-create consumer value.

Keywords: consumer empowerment, consumer value, modern marketing, online social network, value co-creation, value-in-use

บทคัดย่อ
ปัจจุบันองค์ความรู้ทางการตลาดมีพัฒนาการ อย่างต่อเนื่องเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อมทางการตลาดและพฤติกรรมลูกค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคเครือข่ายสังคมออนไลน์ ที่ลูกค้ามีการรวมกลุ่มกันบนโลกออนไลน์มากขึ้น นักการตลาดในระดับนานาชาติตระหนักถึงการ เปลี่ยนแปลงนี้และมีการปรับตัวให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลง ในขณะที่ในประเทศไทยนักการตลาด ยังคงใช้กระบวนทัศน์การตลาดแบบเดิมที่ให้ความ สำคัญกับการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาด ตัวสินค้า ที่จับต้องได้ และมุ่งเน้นที่การสร้างกำไรสูงสุด ดังนั้น บทความวิชาการนี้จึงมุ่งเน้นนำเสนอกระบวนทัศน์ การตลาดยุคใหม่ที่มุ่งเน้นกระบวนการสร้างคุณค่า ร่วมกัน โดยนำเสนอถึงมุมมองใหม่เกี่ยวกับคุณค่าของ ลูกค้า และกระบวนการสร้างคุณค่าในยุคเครือข่าย สังคมออนไลน์ที่นักการตลาดไม่ใช่บุคคลที่สร้างคุณค่า แบบสำเร็จรูปให้กับลูกค้า แต่ลูกค้าคือผู้สร้างคุณค่า จากการใช้หรือครอบครองสินค้าหรือบริการนั้น Value-in-Use) และที่สำคัญ คุณคา่ ไมไ่ ดอ้ ยูที่ตัวสินคา้ ที่จับต้องได้ แต่คุณค่าอยู่ที่การนำ สินค้านั้นไป สร้างสรรค์หรือสร้างความหมายเชิงสัญลักษณ์ของ ลูกค้า ด้วยเหตุผลนี้ บทความนี้จึงเสนอแนะแนวทาง ที่ธุรกิจต้องปรับตัวและประยุกต์ใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ในการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน และร่วมสร้างคุณค่ากับลูกค้าล่าม

คำสำคัญ: การสร้างคุณค่าร่วมกัน, การตลาดยุคใหม่, เครือข่ายสังคมออนไลน์, คุณค่าจาก การใช้, คุณค่าของลูกค้า, พลังอำนาจ ของลูกค้า


Full Text: PDF





Research
Support Tool
  For this
peer-reviewed
  Context
  Action





Home | Current | Archives | Forum | About | Login | Notify | Contact | Search

Songklanakarin: E-Journal of Social Sciences & Humanities. ISSN: 0859-1113
*บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ *ข้อความและบทความในวารสารสงขลานครินทร์เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นของคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *กองบรรณาธิการไม่สงวนลิขสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
*All articles submitted for publication will be assessed by a group of distinguished reviewers. *The university and the editorial board claim no responsibility for the contents or views expressed by the authors of individual articles. *Copying is allowed freely, provided acknowledgement is made thereof.

© since 1994. All rights reserved by Prince of Songkla University, Thailand

จำนวนผู้เยี่ยมชม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548